วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554

ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก

รายงาน
วิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
เรื่องประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก GNP Gross National Product GNP Gross National Happiness
จัดทำโดย
1. นางสาวจารุวรรณ หนองกุ่ม เลขที่ 3
2. นางสาวณัฐชา ทองมณโฑ เลขที่ 8
3. นางสาวชยาภา จำรัสไพโรจน์วัฒนา เลขที่ 10
4. นางสาวนันทิชา หมื่นสะกดดี เลขที่ 11
5. นางสาววงศพัทธ์ คำมีมา เลขที่ 14
6. นางสาวนฤมล ล้วนแก้ว เลขที่ 25
7. นางสาวอรสา รักษี เลขที่ 27

เสนอ
อาจารย์ณรงศักดิ์ พิทักษ์ตันสกุล

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อมรหัสวิชา2500104
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
ระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบัญชีการเงิน (531240502)
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี






สารบัญ


เนื้อหา หน้า

ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 1


1 GHP คืออะไร 28

2 องค์กรที่จัดทำ 30

3 หลักการ เกณฑ์ที่ใช้วัด GHP GDP 31

4 Green GDP คืออะไร 35










คำนำ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา2500104 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมนอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน เนื้อหาจะเกี่ยวกับ GDP GHP ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก หลักเกณฑ์ที่ใช้วัดGHP GDP องค์กรที่จัดทำเกี่ยวกับ GHP GDP และGREEN GDP คืออะไร เหมาะแก่ผู้ที่มีความสนใจต้องการศึกษาหาข้อมูล หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน
หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทำ
นางสาวจารุวรรณ หนองกุ่มและคณะ



ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก

ข้าฯว่าจะจินตนาการเรื่องการข้ามผ่านระบบเลขฐานสอง…ที่เคยเขียนหัวข้อไว้ในงานเขียนของกระบี่ดาวแดงไว้แต่ยังไม่ได้อธิบายถึงจินตนาการว่าจะเป็นแบบไหน…แต่พอดีอ่านพบบทความท่าน ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯที่นำมาลงในตอนที่แล้ว ท่านยังได้คิดต่อในเรื่องควอนตัมดอทโซล่าเซลล์ ต่ออีก….เลยขอวกมาเรื่องสังคมมั่ง เอาไว้จบเรื่องนี้ที่ค้างอยู่แล้วข้าฯจึงจะวกกลับมากล่าวถึง เรื่องการก้าวข้ามระบบเลขฐานสองต่อ ที่ผ่านมาเรามักจะเคยชิน กับ คำว่าจีดีพี ( Gross Domestic Product) ไม่ว่าผ่านมา20-30ปีหรือรัฐบาลไหนๆก็ตาม(ที่ปัจุบันนักวิชาการที่นำเสนอเขาตั้งชื่อใหม่เป็นระบอบทักษิโนมิกส์)….รวมไปถึงการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐกิจ ด้วยหลักการเศรษฐมิติ มักจะใช้ปรัชญานี้เป็นเครื่องมือในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลนั้นๆ ด้วยแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติของบรรดาเทคโนแครต… ก็ต่อยอดกันมาเรื่อยๆ จีดีพี หรือผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ ก็จะใช้สูตรการตั้งสมติฐานกับตัวเลขที่ตั้งเป้าหมายไว้เป็นค่าบวกหรือจะต้องมีเป้าหมายที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา…ด้วยสูตร
GDP = C+I+G+ ( X-M)
C= การบริโภค, I = การลงทุน,G = การใช้จ่ายภาครัฐ, X = ผลสุทธิการส่งออก และM= การนำเข้าจากต่างประเทศ เมื่อ X-M ก็จึงเท่ากับผลสุทธิการนำเข้าส่งออก
ปัจจุบัน เริ่มมีคำที่ฮิตใหม่คือ GHP ( Gross Happiness Product) หรือผลผลิตมวลรวมแห่งความสุข…
ในความเป็นจริงของโลกปัจจุบัน….ไม่มีประเทศไหนหน้าโง่ที่จะให้ประเทศไทยเอารัดเอาเปรียบประเทศเขา…การเจรจาในทุกเรื่องราวต่างล้วนมีวัตถุประสงค์แอบแฝงในเศรษฐกิจการเมืองของทุกประเทศ….
แนวนโยบายที่เป็นรูปธรรมของปรัชญาเศรษฐศาสตร์แบบ GHP ที่เป็นรูปธรรมปัจจุบันก็ยังไม่เห็นมีนักวิชาการเทคโนแครตผู้ใดนำเสนอออกมาในสิ่งที่ปฏิบัติเป็นจริงได้….จึงเป็นเพียงนามธรรม อุดมคติเป็นหลัก…
มีเพียงรูปธรรมที่เห็นๆคือ แรงงานภาครากหญ้า และนอกภาคเกษตร กว่า20ล้านคนก็ยังจนอยู่เช่นเดิม…อาจจะมีคำถามว่าเขามีความสุขไหม…ข้าฯคิดว่าคงมีความสุขน้อยกว่าบรรดาท่านเทคโนแครตทั้งหลายแหละครับเพราะต้องดิ้นรนกู้หนี้ยืมสิน กันแทบทั้งนั้นเพื่อความสุขเล็กๆน้อยๆตามอัตภาพ…
และไม่โอ่อ่ากับเงินเดือนละแสนกว่าบาทของท่านผู้ทรงเกียรติที่ได้รับการแต่งตั้งทั้งหลายที่มาบริหารประเทศ มีหลายคำถามที่ข้าฯยังสงสัย ในรูปธรรม กล่าวคือ อะไรคือสิ่งที่ท่านเรียกว่าระบอบทักษิโนมิกส์ซึ่งเป็นแนวนโยบายที่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ที่ประเทศล้มละลาย…และการวางรากฐานในการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน….และอีกประเด็นอะไรคือความพอเพียง โดยไม่ต้องใช้ทุน…ที่ข้าฯกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่าข้าฯคัดค้านแนวคิดปรัชญาความพอเพียงที่เป็นอัจฉริยภาพของในหลวงที่พระองค์ท่าน กล่าวแนะนำแนวทางมาตั้งแต่ยุครัฐบาลชวน 2 หลังการล้มละลายของประเทศ..
ที่ข้าฯเห็นก็คือถ้าใครสามารถทำตามทฤษฎีใหม่ก็ควรทำ ……แต่โดยทั่วไปชาวนาชาวไร่ จำนวนมากจะสร้างบ้านอยู่เป็นชุมชน และจะมีบริเวณที่ราบลุ่มเป็นแปลงนาที่อยู่นอกชุมชนที่เป็นหมู่บ้าน…การทำตามทฤษฎีใหม่ก็ต้องใช้ทุน เช่นการขุดสระน้ำ..และต้องย้ายบ้านเรือนไปทำการผลิตผลผลิตต่างๆที่ต้องดูแลใกล้ชิด…ทั้งหมดก้ต้องใช้ทุนทำทั้งนั้น( ความหมายคำว่าทุน ดูในระบอบทุนนิยมสังคม คลิกลิงค์ที่กระบี่ดาวแดง) และเช่นกันในแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ก็อย่างที่ข้าฯได้กล่าวมาว่าไม่มีประเทศไหนหน้าโง่ให้ไทยเราเอาเปรียบเขาได้ยังมีจุดอ่อนหลายประการ ในปรัชญาที่ใช้เป็นดัชนีชี้วัด ในแบบGDP กล่าวคือ
1. ภายใต้การกำหนดเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้วยตัวเลขจีดีพี ที่จะต้องเป็นค่าบวกตลอดรวมไปถึงการผลักดันตลาดหุ้นนั้น มีผลต่อความสุขของประชาชนทั่วไป หรือไม่
2. GDP คิดจากเงินในกระเป๋าใคร ซื้อความสุขให้กับคนส่วนใหญ่ได้หรือไม่
3. เมื่อตัวเลขเป้าหมายจะต้องตั้งไว้ให้ขยายตัวอยู่ตลอดเวลาหรือค่าบวก สิ่งที่ตามมาก็คือการกู้เงินเพื่อทำตามเป้าหมาย กลุ่มไหนเป็นกลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์
4. การเร่งและกระตุ้นการนำใช้ทรัพยากรธรรมชาติของกลุ่มทุน บนรากฐานการแสวงหากำไรสูงสุดอันเป็นผลต่อการลดทอนต้นทุนค่าใช้จ่ายสาธารณะในการทำลายสภาพแวดล้อม
5. การกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่ายของประชาชนในประเทศ เป็นผลให้ก่อเกิดค่านิยมแห่งการบริโภคนิยม และวัฒนธรรมที่ไม่รู้จักเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้มีอำนาจทั้งหลาย..
6. ภายใต้วัฒนธรรมการคอรัปชั่น ของผู้มีอำนาจควบคุมกลไกรัฐทุกระดับสืบทอดกันมายาวนานของระบอบพันธมิตรนายพล-นายทุนและเทคโนแครต ก่อเกิดการสูญเสียประโยชน์สูงสุดที่ประชาชนพึงได้รับรวมไปถึงความมีเสรีของประชาชน….( เช่นการเกิดหนี้…หรือการขาดโอกาส การขาดเงินทุน เป็นต้นล้วนแล้วเป็นการขาดเสรี อันเป็นผลที่ไม่สามารถเกิดดุลยภาพได้ และไร้ซึ่งความสุขที่มนุษย์พึงมีในขั้นพื้นฐาน)

อะไรเกี่ยวกับความสุขมวลรวมประชาชาติ
เมื่อ Jigme Singye Wangchuck ได้ครองตำแหน่งพระมหากษัตริย์ของประเทศหิมาลัยของประเทศภูฏานในปี 1972 เขาประกาศว่าเขาเป็นกังวลมากขึ้นกับ"ความสุขมวลรวมประชาชาติ"กว่ากับมวลรวมภายในประเทศสินค้า นี้อาจไม่ได้มาเป็นแปลกใจไปยังประเทศที่มีภาระหนักของป่า - 810000 ไป 2.2 ล้านบาท (ประมาณการแตกต่างกันมาก) ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่ของผู้เป็นเกษตรกรที่ยากจนยังชีพ ภูฏานของ GDP เป็นเพียง $ 2700000000, แต่ Wangchuck ยังคงรักษาที่เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไม่จำเป็นต้องนำไปสู่ความพึงพอใจและแทนที่จะมุ่งเน้นไปที่สี่เสาหลักของ GNH : เศรษฐกิจพึ่งตนเองสภาพแวดล้อมที่เก่าแก่, การรักษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมภูฏานของและ การกำกับดูแลที่ดีในรูปแบบของระบอบประชาธิปไตย
ความคิดของพระ Wangchuck ว่านโยบายสาธารณะควรจะเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดเพื่อสุขภาพที่ดี -- วิธีการที่บุคคลรู้สึกเกี่ยวกับชีวิตของพวกเขา -- เป็นจับบน "มีความสนใจที่เพิ่มขึ้นในบางวงการ policymaking ในการดูที่มาตรการเหล่านี้"ริชาร์ด Easterlin, ศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์ที่ University of Southern California says "เราได้รับการเข้าใจผิดในยกสิ่งที่ผู้คนพูดเกี่ยวกับวิธีที่พวกเขาจะมีความสุขและก็สมมติว่าหากพวกเขาเป็นแอปเปิ้ลมากขึ้นการบริโภคและการซื้อรถยนต์มากขึ้นพวกเขาจะดีกว่า". มีความพยายามในการออกแบบดัชนีเศรษฐกิจใหม่ที่จะวัดคุณภาพชีวิตโดยมี gauged สิ่งที่ต้องการความพึงพอใจกับความสัมพันธ์ส่วนตัวการจ้างงานและความหมายและจุดมุ่งหมายในชีวิตรวมทั้งตัวอย่างเช่นยาเสพติดใหม่ขอบเขตและเทคโนโลยีปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพ
อิสระถังใหม่ London - based คิดเศรษฐศาสตร์มูลนิธิผลักดันการดำเนินการตั้งค่าบัญชีสุขภาพที่ดีของชาติสิริขึ้นที่จะพึงพอใจในชีวิตและการพัฒนาบุคลากรรวมทั้งประเด็นดังกล่าวเป็นความไว้วางใจและความผูกพัน บัญชีนอกจากนี้ยังจะรวมถึงหนี้สินเช่นความเครียดและภาวะซึมเศร้า โลจิสติกจะไม่ยาก, Hetan Shah ของ NEF, เพราะว่ามากของข้อมูลจะถูกบันทึกไว้แล้วโดยรัฐบาลกล่าวว่า ในปี 2002 กลยุทธ์หน่วยราชการภายในถังคิดว่ารายงานไปยังนายกรัฐมนตรีโทนี่แบลร์ได้ดำเนินการสัมมนาเรื่องความพึงพอใจในชีวิตและความหมายของนโยบายสาธารณะ Shah says เยอรมนีอิตาลีและฝรั่งเศสยังมองเป็นปัญหาหนึ่งที่เขาคาดการณ์จะกลายเป็นสิ่งสำคัญมากขึ้นเป็นคนต่อไปที่จะแสวงหาชีวิตที่ดี .- ด้วยการรายงานโดย Helen Gibson /

GNH ดัชนีความสุขมวลรวม
ทุกชาติในโลกไม่ว่ามหาอำนาจหรือชาติเล็กๆ ต่างเพิ่งได้รับผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกที่กำเนิดมาจากสหรัฐฯ และล่าสุดต่างก็ต้องปวดหัวกับปัญหาปัญหาปัญหาภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงทั้ง Global Warming และ Climate Change ก็หนักข้อขึ้นอย่างรวดเร็วจนต้องจัดประชุมใหญ่กันที่ Copenhagen ตลอดเดือนธันวาคมที่ผ่านมา แต่ก็ยังไม่คืบหน้าเพราะทะเลาะกันเรื่องผลประโยชน์ตัวเงินยังไม่จบ แต่ละประเทศเองต่างก็พบปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนห่างขึ้น สวนทางกับเลข GDP ที่เป็นตัววัด “ความเจริญ” ซึ่งใช้กันมาตลอด ไม่เว้นแม้แต่ชาติยักษ์ใหญ่ร่ำรวยอย่างสหรัฐฯ ที่เคยมีวิกฤตที่มาจากการขาดธรรมาภิบาลอย่างกรณี Enron และโดนซ้ำจากวิกฤตจากเก็งกำไรตราสารหนี้ Subprime ต่ออีกจนปัจจุบันก็ยังไม่ฟื้นเต็มตัว สิบปีที่แล้ววิกฤตต้มยำกุ้งที่เริ่มจากประเทศไทยให้บทเรียนว่าการพัฒนาประเทศโดยเน้นตัวเลขเติบโตของ GDP (Gross Domestic Product) สูงๆ ที่เน้นการกู้เงินนั้นอันตรายเพียงใด ทั้งหมดนี้พาให้ทั่วโลกและในไทยเริ่มสนใจสร้างดัชนีใหม่ที่ต่างออกไป เช่น ดัชนีความสุขแห่งชาติ GNH (Gross National Happiness) หรือดัชนีความสุขมวลรวม “Gross National Happiness is more important than Gross National Product.” (ความสุขของประชาชนสำคัญกว่าผลผลิตรวมของประชาชาติ) เป็นประโยคแรกเกี่ยวกับ GNH ซึ่งมาจากพระเจ้า Jigme Wangchuck กษัตริย์ภูฏานองค์ก่อนนี้ที่กล่าวในวันเสด็จขึ้นครองราชย์ พ.ศ. 2515 และกลายเป็นหลักนโยบายระยะยาวที่พระองค์และคณะรัฐมนตรี ใช้ในการกำหนดนโยบายและแผนพัฒนาประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาโดยใช้หลักศาสนาพุทธเป็นที่ตั้ง แม้ตัวเลขรายได้ GDP ของภูฏานจะเป็นอันดับต่ำที่ 189 ของโลก จากทั้งหมด 222 ประเทศ คือราว 40,000 บาทต่อปีหรือ 4,300 บาทต่อเดือนเท่านั้นราวครึ่งหนึ่งของไทย แต่ความเป็นอยู่ของชาวภูฏานนั้น "พอเพียง" และสอดคล้องกับธรรมชาติ เช่นคนภูฏานทุกคนได้ที่ทำเกษตรประมาณ 10 ไร่ฟรีจากรัฐบาล และคนส่วนใหญ่อยู่กันเป็นครอบครัว ทุกคนช่วยกันทำมาหากิน ใครเข้าเมืองไปหางานทำ ไม่มีงานก็กลับไปทำนาได้เสมอ
ภูฏานเป็นประเทศเดียวในโลกที่วัดความเจริญของประเทศด้วยหลักการ GNH บ่งบอกจุดมุ่งหมายสร้างสมดุลระหว่างความเจริญด้านวัตถุและด้านจิตใจ และในปี 2541 รัฐบาลภูฏานก็ประกาศแผนพัฒนาประเทศอย่างเป็นทางการบนหลักการ “Four Pillars of Happiness” (สี่เสาหลักแห่งความสุข)

1.การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน (Sustainable Economic Development)
2.การรักษาสภาพแวดล้อม (Conservation of the Environment)
3.การส่งเสริมวัฒนธรรมประจำชาติ (Promotion of National Culture)
4.ธรรมาภิบาลที่ดี (Good Governance)

นโยบายรูปธรรมที่เป็นตัวอย่างก็เช่นนโยบายจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว ด้วยโควต้าคนและภาษีท่องเที่ยวรายวัน 200 $ ต่อหัว เพราะไม่ต้องการเปิดประเทศให้นักท่องเที่ยวแห่กันเข้าไปทำลายความบริสุทธิ์ของป่าเขาและความเงียบสงบของวัด นอกจากนี้ยังมีนโยบายการปลูกป่าทดแทน ทำให้ยังมีป่ากว่า 70% ของประเทศแม้จะมีการตัดถนนอย่างต่อเนื่องมากว่า 30 ปี และยังมีตัวอย่างระดับท้องถิ่นเช่นมีหมู่บ้านหนึ่งเพิ่งเดินสายไฟฟ้าเข้าไปให้ทุกบ้าน ต่อมาพบว่านกกระเรียนบินไปติดสายไฟฟ้าตายจำนวนมาก ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันถอนเสาไฟฟ้า หันไปใช้ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์แทน ไม่เพียงแค่ประเทศเล็กๆ อย่างภูฏาน แต่วงวิชาการทั่วโลกกำลังสนใจเรื่องนี้ เช่นสถาบัน Innovest Strategic Value Advisors ซึ่งเป็นสถาบันการเงินข้ามชาติยักษ์ใหญ่ที่แถลงว่า “GNH เป็นแนวคิดที่สนับสนุนให้ระบบของมนุษย์ดีขึ้นด้วยการเลียนแบบระบบธรรมชาติที่มีความละเอียดซับซ้อน” โดยอธิบายว่าทุกวันนี้บริษัทและประเทศทั้งหลายถูกกระตุ้นให้เติบโตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด คล้ายกับเซลล์มะเร็ง ซึ่งเติบโตด้วยการทำลายร่างกายที่ตัวเองอาศัยอยู่ การสัมมนานานาชาติเรื่อง GNH ที่ภูฏานในปี 2549 นั้นผู้เข้าร่วมประชุมมีแถลงการณ์ร่วมกันว่า ควรต้องวัดและให้ความสำคัญต่อตัวเลข GDP ต่อไป แต่ต้องอยู่บนเงื่อนไขที่ไม่ไปทำให้ความสุขมวลรวม GNH ลดลง และความสุขขั้นพื้นฐานนั้นควรวัดระดับได้ เช่น วัดคุณภาพของโภชนาการ, การมีที่อยู่อาศัย, การศึกษา, สุขภาพ และชีวิตชุมชน และต้องสนับสนุนความรับผิดชอบต่อสังคมและธรรมาภิบาลที่ดีในการการดำเนินธุรกิจ
ส่วนในไทย ภาครัฐก็ได้ปรับให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ที่กำลังจะประกาศใช้ในอีก 2 ปีนั้นกำหนดชัดถึงการนำเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแกนหลักในการพัฒนาประเทศ โดยวัดทั้งประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ การพัฒนาอย่างยั่งยืน มิติการศึกษา และสุขภาพ โดยใช้ สสส. เป็นแกนหลักในการผลักดันดัชนีความสุขในการพัฒนาประเทศ ดันเข้าแผนพัฒนา ฉบับ11 ตั้งกรรมการกิจกรรมเพื่อสังคมด้วย อภิรักษ์ โกษะโยธิน ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ก็ได้แถลงไว้ในเรื่องนี้ว่าการวัดด้วย จีดีพี หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ กับการวัดด้วยดัชนีความสุขนั้นต้องทำผสมผสานกันทั้งสองอย่าง และต้องวัด 2 ระดับ คือ 1 ระดับประเทศโดยจะดูว่ามีนโยบายพัฒนาด้านอะไรบ้าง เช่น เรื่องการศึกษา เรื่องสุขภาพ เรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องการประกอบอาชีพ การทำมาหากิน เรื่องการกระจายรายได้ ส่วนระดับที่ 2 คือการวัดในระดับพื้นที่เพราะแต่ละจังหวัดปัญหาไม่เหมือนกัน
แนวคิดความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH ได้รับการพัฒนาในการพยายามที่กำหนดตัวบ่งชี้ คุณภาพชีวิต หรือความก้าวหน้าทางสังคมในอีก แบบองค์รวม จิตใจข้อกำหนดและกว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ระยะได้ชื่อว่าในปี 1972 โดย ภูฏาน ของอดีตกษัตริย์ Jigme Singye Wangchuck , ผู้ที่ได้เปิด ภูฏาน เพื่อให้ทันสมัยอายุ, เร็ว ๆ นี้หลังจากที่สมเด็จพระมรณกรรมของบิดาของเขา Jigme Dorji Wangchuk . เขาใช้วลีกับสัญญาณความมุ่งมั่นของเขาที่จะสร้างในเศรษฐกิจที่จะให้บริการที่โดดเด่นของวัฒนธรรมภูฏานตาม พุทธ ค่าทางจิตวิญญาณ ที่เสนอขายครั้งแรกเป็นแบบสบาย ๆ หมายเหตุเฉพาะหน้า,, แนวความคิดนี้ถูกถ่ายอย่างจริงจังเป็น ศูนย์สำหรับภูฏานศึกษา ภายใต้ของความเป็นผู้นำ Karma Ura , การสำรวจที่ใช้ในการพัฒนามีความซับซ้อนในการวัดระดับของประชากรทั่วไปของการเป็นอยู่ที่ดี ระบาดวิทยาสุขภาพแคนาดา Pennock ไมเคิล มีบทบาทสำคัญในการที่ใช้ในการออกแบบและการใช้ (สิ่งที่เขาเรียก) de - Bhutanized"รุ่น"ของการสำรวจในงานของเขาใน Victoria, British Columbia อุราและ Pennock ได้ยังร่วมมือในการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองนโยบายซึ่งสามารถใช้ในการตรวจสอบผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นของโครงการหรือโปรแกรมที่อยู่บน GNH เครื่องมือเหล่านี้จะมีอยู่บนเว็บไซต์ grossnationalhappiness.com เช่นเดียวกับตัวชี้วัดทางจิตวิทยาและสังคมหลาย GNH จะค่อนข้างง่ายต่อการรัฐกว่ากำหนดด้วยความแม่นยำทางคณิตศาสตร์ กระนั้นก็ทำหน้าที่เป็นวิสัยทัศน์รวมกันสำหรับขั้นตอนการวางแผนของภูฏานห้าปีและเอกสารทั้งหมดที่ได้วางแผนที่คู่มือแผนและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายที่เสนอในภูฏานจะต้องผ่านการตรวจสอบ GNH ตามคำสั่ง GNH ผลกระทบที่มีลักษณะโดยธรรมชาติที่จะ ชี้แจงผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาในสหรัฐอเมริกา
ภูฏานดินในอุดมคติทางพุทธศาสนาแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาประโยชน์ของสังคมมนุษย์จะเกิดขึ้นเมื่อวัสดุและ จิตวิญญาณ การพัฒนาเกิดขึ้นเคียงข้างเพื่อเติมเต็มและเสริมสร้างกันและกัน สี่เสาหลักของ GNH ที่ของการส่งเสริม การพัฒนาที่ยั่งยืน การเก็บรักษาและการส่งเสริม คุณค่าทางวัฒนธรรม การอนุรักษ์ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสถานประกอบการของ ภิบาล . เมื่ออยู่ที่ระดับของความจริงทั่วๆไปนี้แนวคิดของ GNH transcultural ชาติที่เป็นไม่จำเป็นต้องเป็นชาวพุทธเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนค่าความสมบูรณ์ทางวัฒนธรรม, การอนุรักษ์ระบบนิเวศและการกำกับดูแลที่ดี โดยความร่วมมือกับกลุ่มประเทศของนักวิชาการและนักวิจัยเชิงประจักษ์ศูนย์การศึกษาต่อประเทศภูฏานกำหนดสี่เสาหลักเหล่านี้มีความจำเพาะมากขึ้นในแปดผู้ร่วมให้ข้อมูลทั่วไปเพื่อความสุข - ร่างกายจิตใจและจิตวิญญาณสุขภาพเวลาสมดุล; พลังทางสังคมและชุมชนพลังทางวัฒนธรรม การศึกษา; มาตรฐานการดำรงชีวิต; การกำกับดูแลที่ดีและพลังทางนิเวศวิทยา ถึงแม้ว่ากรอบ GNH

การประชุม ในปี 2009 การประชุมนานาชาติครั้งที่ 5 ณ Foz ทำ Iguacu , Brazil, มากกว่า 800 ผู้เข้าร่วม การประชุมจัดขึ้นโดยสถาบันอนาคตวิสัยทัศน์เชิงนิเวศน์และ Itaipu Bi - ชาติพลังน้ำสิ่งอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกันกับศูนย์การศึกษาภูฏาน ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นใน GNH ในบราซิลเป็นผลมาจากการทำงานของ ดร. ซูซานแอนดรูที่ Instituto Visão Futuro ซึ่งสนับสนุนชุดของกิจกรรมในเซาเปาโลและ Campinas ในเดือนตุลาคม 2008 ลำโพงรวม Karma Ura จากภูฏานและไมเคิล Pennock จากประเทศแคนาดา สรุปของการประชุมนานาชาติครั้งที่ 5 ประจำปีพร้อมกับการบันทึกเสียง MP3 ได้ที่ 4 การประชุมหารือและความสุขมวลรวมประชาชาติจัดขึ้นในภูฏานด้วยการเน้นการปฏิบัติและการวัด ผลการสำรวจภูฏานนำเสนอและจำนวนของผู้ร่วมให้ข้อมูลระหว่างประเทศกล่าวถึงวิธีการที่แตกต่างกันและความท้าทายต่อการวัดและการประยุกต์ใช้กรอบ GNH ดำเนินการประชุมซึ่งที่ 3 การประชุมหารือและมวลรวมประชาชาติต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกมีความสุข : โลกทัศน์สร้างความแตกต่างที่นำเสนอโอกาสที่จะมองโลกในเอเชียที่เป็นข้อต่อการเปลี่ยนแปลงใน'ข้อความไปยังโลก' มันเกิดขึ้นที่หนองคายและกรุงเทพฯ, ประเทศไทยระหว่าง 22 และ 28 พฤศจิกายน 2007 implying การเปลี่ยนผ่านจากธรรมชาติไปยังรัฐที่ทันสมัย, ที่ 3 การประชุมหารือและความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH 3) เกิดขึ้นในสองสถานที่ : สามวันแรกเกิดขึ้นในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือชนบทของหนองคายและล่าสุดในสามวัน วิทยาเขตเมืองแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในกรุงเทพ, ประเทศไทย จัดกิจกรรมตามแผนทั้งหมดเพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถสำรวจความหลากหลายของสถานที่จัดงานนำเสนอและรูปแบบการอภิปรายและการวาดภาพบนหลากหลายมากและความสามารถพิเศษของกลุ่มทั้งหมดของ 800 ผู้เข้าร่วมที่ลงทะเบียน หลักร่วมจัดงาน - มี Sathirakoses Nagapradipa Foundation (ประเทศไทย), ศูนย์การศึกษาภูฏาน ในขณะที่องค์กรพัฒนาเอกชนท้องถิ่นก้าวหน้ากลุ่มธุรกิจ ค้าเครือข่ายทางสังคม และการปกครองของประเทศไทยโดยเฉพาะกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประเทศไทยได้เกิดการสนับสนุน เครือข่ายร่วมกันกับหน่วยงานวิจัยและภาครัฐอื่น ๆ เช่นมูลนิธิส่งเสริมสุขภาพไทย
"ทบทวนการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อ Global Pathways อยู่ดีมีสุข", Second การประชุมหารือและความสุขมวลรวมประชาชาติจัดขึ้นใน Antigonish, โนวาสโกเทีย มิถุนายน 20-24, 2005, ร่วมเป็นเจ้าภาพ Atlantic ดัชนีความคืบหน้าของแท้ (ออนไลน์ดำเนินคดี); Coady สถาบันระหว่างประเทศ ; Shambhala ; ศูนย์การศึกษาภูฏาน ; โนวาสโกเทียจังหวัด ; สถาบันวิจัยเพื่อการ Gorsebrook ที่ของ Saint Mary มหาวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยของ Brunswick New .
การประชุมระดับภูมิภาคที่สองเอาสถานที่ 08-11 พฤศจิกายน 2006 ที่ มหาวิทยาลัยเมจิ Gakuin ในโยโกฮามา การประชุมการตรวจสอบ Haida ความสำเร็จเพื่อใช้สังคม modalities ตะวันตกทางเศรษฐกิจและไม่ใช่
การศึกษาภายนอก อ้างถึงอย่างกว้างขวางในการศึกษา,"Projection Global ของอัตนัยเป็นอยู่ที่ดี : ความท้าทายในเชิงบวกจิตวิทยา" โดยเอเดรียจีสีขาวของ มหาวิทยาลัยเลสเตอร์ ในปี 2007 ภูฏานอันดับที่ 8 ของ 178 ประเทศในวิสัยดีเป็นอยู่ตัวชี้วัดที่มีการใช้โดยนักจิตวิทยาหลายตั้งแต่ปี 1997 [8] ในความเป็นจริงมันเป็นเพียงประเทศเดียวใน ด้านบน 20 ประเทศ"ความสุข"ที่มี GDP ต่ำมาก ความสุขแห่งชาติเป็นบางครั้งสามารถจัดอยู่ภายใต้การศึกษาเชิงประจักษ์"National Happyism;"และนักจิตวิทยา, DRS Ed Diener และโรเบิร์ต Biswas - Diener, ได้ค้นคว้าศึกษาและวิเคราะห์สิ่งที่อาจจะอธิบายองค์ประกอบของเทคโนโลยีและลักษณะของความสุขสำหรับบุคคลและสังคม
วิจารณ์ นักวิจารณ์กล่าวหาว่าเพราะ GNH ขึ้นอยู่กับของชุด อัตนัย คำตัดสินเกี่ยวกับการเป็นอยู่ที่ดีรัฐบาลอาจจะสามารถกำหนด GNH ในทางของพวกเขาที่เหมาะสมกับความสนใจ ในภูฏานกรณีตัวอย่างเช่นพวกเขากล่าวว่ารัฐบาลขับประมาณหนึ่งแสนคนและปล้นของพวกเขาเป็นพลเมืองภูฏานของพวกเขาในบริเวณที่มี deportees เนปาลกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการตัดสินในประเทศอย่างผิดกฎหมาย, [9] [10] แม้ว่านโยบายของภูฏานในเรื่องนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงหรือที่เห็นได้ชัดกับการใช้ GNH เป็นเครื่องชี้วัดของการนำนโยบาย ประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบราซิล, อิตาลี, และบางส่วนของแคนาดามีการสำรวจการใช้การวัดที่ได้จาก GNH ของภูฏานเป็นตัวชี้วัดหลักของการเป็นอยู่ที่ดี นักวิจารณ์กล่าวว่าการเปรียบเทียบระหว่างประเทศของการเป็นอยู่ที่ดีจะเป็นเรื่องยากในรูปแบบนี้รักษาผู้เสนอว่าแต่ละประเทศสามารถกำหนดมาตรการของตัวเองของ GNH ตามที่เลือกและที่เปรียบเทียบในช่วงเวลาระหว่างประเทศจะมีความถูกต้อง GDP ให้ความสะดวกในระดับสากล แต่ (GNH กล่าวของผู้เสนอ) เพื่อดำเนินการต่อ GDP ที่จะใช้เหตุผลนี้ในหน้าของข้อบกพร่องที่รู้จักกันมันก็เพื่อให้ความสะดวกในการวัดเพื่อกำหนดสิ่งที่เราวัดและค่าวิธีการที่เป็น แก้ตัวไม่ได้มีเหตุผล การวิจัยแสดงให้เห็นว่าเครื่องหมายของสังคมและบุคคลเป็นอยู่ที่ดีเป็นอย่างน่าทึ่ง transcultural : ผู้คนทั่วไปรายงานพึงพอใจในชีวิตมากขึ้นอัตนัยหากพวกเขามีแรงและบ่อยครั้งความสัมพันธ์ทางสังคมอาศัยอยู่ในระบบนิเวศมีสุขภาพดี, มีประสบการณ์การกำกับดูแลที่ดีและอื่น ๆ , มันก็ยังเป็นจริงความเชื่อมั่นว่าในวันที่ มาตรการระดับชาติของ GNH จะทำให้การเปรียบเทียบระหว่างประเทศของความเป็นอยู่ที่ดีมีปัญหามากขึ้นเนื่องจากมีไม่ได้และไม่น่าจะเคยเป็นระดับร่วมกันเป็น"แบบพกพา"เป็น GDP ได้รับการ ตัวชี้วัดทางเลือกของอารมณ์เป็นความคืบหน้าอนาล็อกเศรษฐกิจยังได้รับการสนับสนุนจากของจำนวน องค์กรพัฒนาเอกชน เช่นสหราชอาณาจักรของ มูลนิธิเศรษฐศาสตร์ใหม่ และมีงานในรัฐบาลบางส่วนที่เด่นชัดในยุโรปและแคนาดา แบบสำรวจความคิดเห็น Gallup นอกจากนี้ระบบจะเก็บข้อมูลสุขภาพที่ดีในระดับชาติและนานาชาติ
ความหลากหลายของมาตรการระดับชาติของรายได้และมีการใช้ใน ทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อประเมินกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศหรือภูมิภาครวมทั้ง ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ( GNP ) และ รายได้ประชาชาติสุทธิ (NNI) ทั้งหมดมีความกังวลเป็นพิเศษกับการนับจำนวนรวมของสินค้าและบริการที่ผลิตภายในบางส่วน"ขอบเขต" ขอบเขตอาจมีการกำหนดไว้ในทางภูมิศาสตร์หรือโดยสัญชาติและขีด จำกัด กับชนิดของกิจกรรมที่ยังเป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตความคิด; ตัวอย่างเช่นมาตรการเหล่านี้ส่วนใหญ่ จำกัด อยู่ที่การนับสินค้าและบริการที่มีการแลกเปลี่ยนสำหรับเงิน : การผลิตไม่ ขาย แต่สำหรับการแลกเปลี่ยนสินค้าสำหรับใช้ส่วนตัวของตัวเองเป็นหนึ่งหรือเพื่อของครอบครัวหนึ่งอาจเป็นส่วนใหญ่ออกทางด้านซ้ายของมาตรการเหล่านี้แม้จะพยายามจะทำบางอย่างเพื่อรวมบางชนิดที่ผลิตโดย imputing ค่าทางการเงินแก่พวกเขา นายเอียนเดวี่ส์กำหนดพัฒนาเป็น'เพียงแค่ความสุขและฟรีพลเมืองของประเทศนั้นรู้สึก.' [1]
ค่าตลาด ดูบทความหลักที่ มูลค่าหุ้นตามราคาตลาด เพื่อนับจำนวนสินค้าหรือบริการมีความจำเป็นต้องกำหนดค่าบางอย่างไป ค่าที่มาตรการของรายได้ประชาชาติและผลผลิตกำหนดให้บริการที่ดีหรือเป็นมูลค่าตลาดราคามันจะเรียกเมื่อซื้อหรือขาย ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจริงของผลิตภัณฑ์ (มูลค่าของการใช้งาน) ไม่ได้วัด สมมติว่าค่าใช้ใด ๆ ที่จะแตกต่างจากมูลค่าตลาด สามมีการใช้กลยุทธ์เพื่อให้ได้ค่าการตลาดของสินค้าและบริการที่ผลิตสินค้าวิธี (หรือส่งออก), วิธีการใช้จ่ายและวิธีรายได้ สินค้าวิธีการดูที่ระบบเศรษฐกิจบนพื้นฐานของอุตสาหกรรมโดยอุตสาหกรรม ผลผลิตรวมของเศรษฐกิจเป็นผลรวมของผลของทุกภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามเนื่องจากการส่งออกของอุตสาหกรรมหนึ่งอาจจะถูกใช้โดยอุตสาหกรรมอื่นและกลายเป็นส่วนหนึ่งของการส่งออกของอุตสาหกรรมที่สองที่เพื่อหลีกเลี่ยงการนับจำนวนรายการที่สองครั้งที่เราใช้ไม่ได้ออกค่าโดยแต่ละอุตสาหกรรม แต่มีมูลค่าเพิ่ม; ที่ , ความแตกต่างระหว่างมูลค่าของสิ่งที่มันทำให้ออกมาและสิ่งที่จะเข้ามูลค่ารวมที่ผลิตโดยเศรษฐกิจเป็นผลรวมของค่าเพิ่มโดยทุกภาคอุตสาหกรรม วิธีการใช้จ่ายจะขึ้นอยู่กับความคิดที่ว่าสินค้าทั้งหมดจะซื้อจากใครบางคนหรือบางองค์กร ดังนั้นเราจึงสรุปยอดรวมของผู้คนและองค์กรการใช้จ่ายเงินในการซื้อสิ่ง เงินจำนวนนี้จะต้องเท่ากับค่าของทุกอย่างที่ผลิต ค่าใช้จ่ายโดยทั่วไปโดยเอกชน, ค่าใช้จ่ายด้วยธุรกิจและค่าใช้จ่ายโดยรัฐบาลจะคำนวณแยกกันแล้วสรุปที่จะให้ค่าใช้จ่ายทั้งหมด นอกจากนี้ระยะการแก้ไขจะต้องได้รับการแนะนำให้กับบัญชีเพื่อการนำเข้าและส่งออกนอกขอบเขต วิธีการทำงานโดยรายได้ข้อสรุปรายได้ของผู้ผลิตทั้งหมดภายในขอบเขต เนื่องจากสิ่งที่พวกเขาจะได้รับเงินเป็นเพียงมูลค่าตลาดของผลิตภัณฑ์ของตนมีรายได้รวมทั้งหมดของพวกเขาจะต้องมีมูลค่ารวมของผลิตภัณฑ์ ค่าจ้างค่า proprieter ของรายได้และผลกำไรของ บริษัท จะแบ่งรายได้ที่สำคัญของ
วิธีการส่งออก วิธีการส่งออกมุ่งเน้นในการหาผลรวมของชาติโดยตรงโดยการหามูลค่ารวมของสินค้าและบริการทั้งหมดของประเทศผู้ผลิตเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนของหลายขั้นตอนในการผลิตสินค้าหรือบริการเพียงค่าสุดท้ายของการบริการที่ดีหรือจะรวมอยู่ในการส่งออกรวม หลีกเลี่ยงปัญหานี้มักจะเรียกว่า' คู่นับ 'ที่ซึ่งมูลค่ารวมของดีมีอยู่หลายครั้งในการส่งออกแห่งชาติโดยการนับซ้ำ ๆ ในหลายขั้นตอนของการผลิต ในตัวอย่างของการผลิตเนื้อสัตว์ค่าของดีจากฟาร์มอาจจะ $ 10 แล้ว 30 $ จากการขายเนื้อแล้ว 60 $ จากซูเปอร์มาร์เก็ต ค่าที่ควรจะรวมอยู่ในการส่งออกแห่งชาติขั้นสุดท้ายควรจะ $ 60 ไม่ได้ผลรวมของตัวเลขทั้งหมดที่, $ 100 เพิ่มค่า ที่ผลิตแต่ละขั้นตอนของการผ่านขั้นตอนตามลำดับก่อนหน้านี้มี $ 10, $ 20 และ $ 30 ผลรวมของพวกเขาให้ทางเลือกของการคำนวณมูลค่าของผลผลิตขั้นสุดท้าย Formulae : GDP (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) ตามราคาตลาด = มูลค่าของผลผลิตในระบบเศรษฐกิจในปีหนึ่ง ๆ -- ใช้จ่ายขั้นกลาง
NNP มีค่าใช้จ่ายปัจจัย = GDP ณ ราคาตลาด -- ค่าเสื่อมราคา + NFIA (รายได้สุทธิจากต่างประเทศ) -- ภาษีทางอ้อมสุทธิ [3]
วิธีรายได้ วิธีรายได้เท่ากับผลผลิตรวมของประเทศเพื่อรายได้ทั้งหมดที่ได้รับโดยอาศัยอยู่ในประเทศ ประเภทหลักของรายได้คือ
• ค่าตอบแทนพนักงาน (= ค่าจ้าง + ค่าใช้จ่ายของผลประโยชน์รวมทั้งการว่างงาน, สุขภาพและสิทธิประโยชน์การเกษียณอายุ);
• ดอกเบี้ยรับสุทธิของดอกเบี้ยที่จ่าย;
• รายได้ค่าเช่า (ส่วนใหญ่สำหรับการใช้งานของอสังหาริมทรัพย์) สุทธิจากค่าใช้จ่ายของเจ้าของบ้าน;
• ค่าสิทธิที่จ่ายสำหรับการใช้งานของทรัพย์สินทางปัญญาและทรัพยากรธรรมชาติสกัด
ทั้งหมดที่เหลืออยู่เพิ่มมูลค่าสร้างโดย บริษัท จะเรียกว่าที่เหลือหรือ กำไร . แต่หาก บริษัท มีการถือหุ้นโดยพวกเขาเองที่เหลือบางส่วนที่พวกเขาได้รับเป็น เงินปันผล . กำไรรวมถึงรายได้ของ ผู้ประกอบการ -- บริการนักธุรกิจผู้รวมปัจจัยการผลิตปัจจัยการผลิตที่ดีหรือ
Formulae : ค่าใช้จ่ายปัจจัย NDP = ค่าตอบแทนของพนักงาน + ดอกเบี้ยสุทธิ + รายได้ค่าเช่าและค่าลิขสิทธิ์ + กำไรของ บริษัท จดทะเบียนและการประกอบการ + รายได้จากการจ้างงานตนเองแห่งชาติ = NDP รายได้ค่าใช้จ่ายปัจจัย + NFIA (รายได้สุทธิจากต่างประเทศ) -- ค่าเสื่อมราคา
วิธีการค่าใช้จ่าย วิธีการใช้จ่ายโดยทั่วไปวิธีการบันทึกบัญชีส่งออก โดยเน้นในการหาผลรวมของประเทศโดยการหาปริมาณรวมของการใช้จ่ายเงิน นี้เป็นที่ยอมรับได้เพราะชอบรายได้มูลค่ารวมของสินค้าทั้งหมดที่มีค่าเท่ากับยอดรวมของเงินที่ใช้จ่ายในสินค้า สูตรพื้นฐานสำหรับการส่งออกในประเทศรวมทั้งหมดในพื้นที่ต่างๆซึ่งเงินที่ใช้ภายในภูมิภาคแล้วรวมพวกเขาเพื่อค้นหาผลลัพธ์ทั้งหมด
GDP = C + I + G + (X -- M)
สถานที่ :
C = ค่าใช้จ่ายการบริโภคของใช้ในครัวเรือน / ค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล
I = มวลรวมในประเทศการลงทุนภาคเอกชน
G = การบริโภคภาครัฐและค่าใช้จ่ายการลงทุนรวม
X = การส่งออกรวมของสินค้าและบริการ
M = มูลค่าการนำเข้ารวมของสินค้าและบริการ
หมายเหตุ : (X -- M) จะถูกเขียนมักจะเป็น X N ซึ่งย่อมาจาก"การส่งออกสุทธิ"
ชื่อชื่อของมาตรการประกอบด้วยหนึ่งของคำว่า"รวม"หรือ"สุทธิ"ตามด้วยหนึ่งของคำว่า"แห่งชาติ"หรือ"ประเทศ"ตามด้วยหนึ่งของคำว่า"สินค้า","รายได้"หรือ"ค่าใช้จ่าย " ทั้งหมดของคำเหล่านี้สามารถอธิบายได้แยกกัน "ขั้นต้น"หมายความว่าผลิตภัณฑ์ทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงการใช้เพื่อที่จะต่อมาวาง เช่นการสึกหรอและฉีกขาดหรือเสื่อมคุณภาพของประเทศทุนสินทรัพย์ถาวร --"สุทธิ""ขั้นต้น"ลบด้วยจำนวนเงินที่จะต้องใช้เพื่อชดเชยค่าเสื่อมราคาหมายถึง "เน็ต"จะให้ข้อบ่งชี้ว่าผลิตภัณฑ์ที่เป็นจริงมากสำหรับการบริโภคหรือการลงทุนใหม่ "ในประเทศ"หมายถึงขอบเขตคือทางภูมิศาสตร์ : เรากำลังนับสินค้าและบริการที่ผลิตภายในพรมแดนของประเทศโดยไม่คำนึงถึงโดยใคร "แห่งชาติ"หมายถึงขอบเขตถูกกำหนดโดยสัญชาติ (สัญชาติ) เรานับสินค้าและบริการที่ผลิตโดยคนชาติของประเทศ (หรือธุรกิจที่เป็นของพวกเขา) โดยไม่คำนึงถึงแหล่งที่ผลิตที่จะเกิดขึ้นทางร่างกาย ผลผลิตของโรงงานฝ้ายฝรั่งเศสเป็นเจ้าของในเซเนกัลนับเป็นส่วนหนึ่งของตัวเลขในประเทศสำหรับเซเนกัล แต่ตัวเลขแห่งชาติของฝรั่งเศส "สินค้า","รายได้"และ"ค่าใช้จ่าย"หมายถึงสามวิธีการนับก่อนหน้านี้อธิบาย : สินค้า, รายได้และแนวทางการใช้จ่าย อย่างไรก็ตามมีการใช้คำอย่างอิสระ "สินค้า"เป็นคำทั่วไปที่มักใช้เมื่อใด ๆ ในสามวิธีที่ใช้จริง บางครั้งคำว่า"สินค้า"ใช้แล้วบางสัญลักษณ์เพิ่มเติมหรือวลีเพื่อแสดงวิธีการ; ดังนั้นตัวอย่างเช่นเราได้รับ"มวลรวมภายในประเทศโดยรายได้","GDP (รายได้)","GDP (I)"และ สิ่งปลูกสร้างที่คล้ายกัน "รายได้"หมายถึงว่าวิธีการเฉพาะรายได้ถูกนำมาใช้ "ค่าใช้จ่ายการ"โดยเฉพาะซึ่งหมายความว่าวิธีการที่ใช้ค่าใช้จ่าย โปรดทราบว่าทั้งสามวิธีการนับในทฤษฎีควรให้รูปสุดท้ายเหมือนกัน แต่ในทางปฏิบัติแตกต่างกันเล็กน้อยได้รับจากสามวิธีการได้จากหลายสาเหตุรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงในระดับสินค้าคงคลังและข้อผิดพลาดในสถิติ เช่นปัญหาหนึ่งก็คือสินค้าในสินค้าคงคลังมีการผลิต (รวมดังนั้นในสินค้า) แต่ไม่ขายยัง (จึงยังไม่ได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่าย) ปัญหาระยะเวลาที่คล้ายกันนอกจากนี้ยังสามารถก่อให้เกิดความแตกต่างเล็กน้อยระหว่างมูลค่าของสินค้าที่ผลิต (Product) และการชำระเงินกับปัจจัยที่ผลิตสินค้า (รายได้) โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าจะซื้อปัจจัยการผลิตของตลาดสินเชื่อและยังเพราะค่าจ้างมักจะถูกเก็บรวบรวมหลังจากระยะเวลา ของการผลิต
GDP และ GNP
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หมายถึง"มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายทั้งหมดที่ผลิตในประเทศใน 1 ปี" [4]
Gross National Product (GNP) หมายถึง"มูลค่าตลาดของสินค้าและบริการที่ผลิตในหนึ่งปีโดยแรงงานและทรัพย์สินมาจากผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศ." [5]
ดังตัวอย่างตารางด้านล่างแสดงให้เห็นบาง GDP และ GNP และข้อมูล NNI สำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา : [6]
รายได้ประชาชาติและผลผลิต (พันล้านดอลลาร์)

สิ้นสุดระยะเวลา
2003

ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
11,063.3
บาทใบเสร็จรับเงินรายได้สุทธิจากส่วนที่เหลือของโลก
55.2

บาทใบเสร็จรับเงินรายได้
329.1

บาทการชำระเงินรายได้
-273.9

ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
11,008.1
การบริโภคภาคเอกชนของทุนคงที่
1,135.9

การบริโภคภาครัฐของทุนคงที่
218.1

สถิติผิดพลาด
25.6

รายได้ประชาชาติ
9,679.7

• NDP : ผลิตภัณฑ์ในประเทศสุทธิหมายถึง"ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของทุนค่าเสื่อมราคาลบ", [7] คล้ายกับ NNP
• GDP ต่อหัว : ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวเป็นค่าเฉลี่ยของผลผลิตที่ผลิตได้ต่อคนซึ่งเป็นรายได้เฉลี่ย
รายได้ประชาชาติและสวัสดิการ
GDP ต่อหัว (ต่อท่าน) มักถูกใช้เป็นของวัดบุคคลของ สวัสดิการ . GDP สูงกว่าประเทศที่อาจจะมีแนวโน้มที่จะยังคะแนนสูงเกี่ยวกับมาตรการอื่น ๆ ของสวัสดิการเช่น อายุขัย . แต่มีข้อ จำกัด อย่างร้ายแรงต่อประโยชน์ของ GDP เป็นมาตรการของสวัสดิการคือ
• มาตรการของ GDP โดยปกติจะไม่รวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังไม่ได้ชำระการทำงานมากที่สุดในประเทศที่สำคัญเช่นการดูแลเด็ก นี้นำไปสู่การบิดเบือน; ตัวอย่างเช่นรายได้ของคนเลี้ยงเด็กจ่ายส่วนช่วยในการ GDP แต่เวลาที่ผู้ปกครองยังไม่ได้ชำระของการใช้จ่ายการดูแลเด็กจะไม่แม้ว่าจะมีการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเดียวกัน
• GDP จะนำเข้าบัญชีของปัจจัยการผลิตที่ใช้ในการผลิตผลลัพธ์ ตัวอย่างเช่นถ้าทุกคนทำงานให้เป็นสองเท่าของจำนวนชั่วโมงจากนั้น GDP อาจประมาณสองครั้ง แต่ไม่ได้หมายความว่าคนงานดีกว่าที่พวกเขาจะมีเวลาว่างน้อย ในทำนองเดียวกันผลกระทบของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีต่อสิ่งแวดล้อมไม่ได้วัดในการคำนวณ GDP
• เปรียบเทียบของ GDP จากประเทศหนึ่งไปยังอีกอาจบิดเบี้ยวโดยการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน การวัดรายได้ประชาชาติที่ เท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ อาจเอาชนะปัญหานี้ที่ความเสี่ยงของการบริการขั้นพื้นฐาน overvaluing สินค้าและสำหรับการทำฟาร์มตัวอย่างการดำรงชีวิต
• GDP ไม่ได้วัดปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตเช่นคุณภาพของสิ่งแวดล้อม (ข้อมูล ณ วันที่แตกต่างจากค่าที่ใส่) และการรักษาความปลอดภัยจากอาชญากรรม นี้นำไปสู่การบิดเบือน -- ตัวอย่างเช่นการใช้จ่ายในการทำความสะอาดคราบน้ำมันจะรวมอยู่ใน GDP แต่ผลกระทบเชิงลบของการรั่วไหลในความเป็นอยู่ (เช่นการสูญเสียชายหาดสะอาด) ไม่ได้วัด
• GDP เป็นความมั่งคั่ง (โดยเฉลี่ย) ค่าเฉลี่ยมากกว่ามัธยฐาน (จุดกลาง) ความมั่งคั่ง ประเทศที่มีการกระจายรายได้เอียงอาจจะค่อนข้างสูงต่อ GDP ในขณะที่ประชากรส่วนใหญ่ของประชาชนที่มีระดับรายได้ค่อนข้างต่ำเนื่องจากความเข้มข้นของความมั่งคั่งอยู่ในมือของเศษเล็ก ๆ ของประชากร ดู ค่าสัมประสิทธิ์จินี .

ด้วยเหตุนี้มาตรการอื่น ๆ ของสวัสดิการเช่น การพัฒนามนุษย์ Index (HDI), ดัชนีของสวัสดิการทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน (ISEW), Genuine Progress Indicator (gpi), ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) และ รายได้ประชาชาติที่ยั่งยืน (SNI) มีการใช้ดูเพิ่มเติม
• ถูกล่ามโซ่ชุดปริมาณ
• ค่าตอบแทนของพนักงาน
• ยุโรประบบของบัญชี
• ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
• ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
• ความสุขมวลรวมของชาติ (GNH)
• รายได้ประชาชาติมวลรวมในสหภาพยุโรป
• ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ
• Input - output แบบ
• ใช้จ่ายขั้นกลาง
• บัญชีแห่งชาติ
• รายได้ประชาชาติและบัญชีสินค้า
• ส่งออกสุทธิ
• ตารางที่โลกเพนน์
• United Nations ของระบบบัญชีแห่งชาติ (UNSNA)
• มั่งคั่ง (Economics)
• การสะสมทุน

เปิดประเด็น GNH ไว้ในบทความก่อนหน้าเพื่อชี้ให้เห็นถึงความห่วงใยของผู้หลักผู้ใหญ่ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของคนในบ้านเมือง รวมถึงนักวิชาการที่ว่า จี ดี พี ไม่ทำให้คนมีความสุขได้ หรือ ตัวเลข จี ดี พี ไม่ใช่ตัวแทนความสุขของปวงชน หรือ ความมั่งคั่งไม่จำเป็นต้องนำความสุขมาให้เสมอไป ซึ่งก็ถูกของท่าน แต่ถ้าลองพิจารณาองค์ประกอบ จี ดี พี ให้ดีอาจไม่ต้องไปแสวงหาตัววัดอื่นก็ได้ ในเมื่อ จี ดี พี เป็นผลรวมค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคภาคส่วนต่างๆได้แก่ ประชาชน นักลงทุน รัฐบาล และ ผู้บริโภคนอกประเทศ ตัวเลข จี ดี พี ยิ่งสูงแสดงว่าผู้บริโภคเหล่านั้นใช้จ่ายมาก เมื่อประชาชนใช้จ่ายมาก เขาย่อมมีความสุขมาก เพราะ “การได้จับจ่ายทรัพย์เพื่อบริโภคเป็นความสุขอย่างหนึ่งของผู้ครองเรือน” (ตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเรื่องความสุขของผู้ครองเรือนสี่ประการ)เหตุไฉนได้จับจ่ายทรัพย์แล้วไม่มีความสุข คำตอบอยู่ที่คนจำนวนมากไม่ค่อยมีทรัพย์เนื่องจากรายได้น้อย (ค่าจ้างแรงงานราคาถูก ผลิตผลการเกษตรราคาถูก) ทรัพย์ที่นำมาจับจ่ายใช้สอยส่วนหนึ่งจึงเป็นทรัพย์ที่กู้ยืมมา (เป็นหนี้) ตอนจ่ายก็เป็นสุขดี แต่ตอนชำระหนี้ความสุขหายไป ดังนั้นจะทำ จี ดี พี ให้เป็นตัวแทนความสุขของปวงชนก็เพียง “ทำให้พวกเขามีอำนาจการซื้อมากขึ้นโดยไม่ต้องเป็นหนี้” แปลว่าต้อง “กระจายรายได้” ไม่ให้รวยกระจุก จนกระจายอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นเรื่องพูดง่ายแต่ทำยาก ได้ยินใครต่อใครพูดถึงเรื่องกระจายรายได้นี้มานานแล้ว โดยเฉพาะนักการเมืองชอบพูดนักเวลาหาเสียง แต่ยิ่งพูดช่องว่างระหว่างคนรวย กับ คนจนก็ยิ่งกว้างขึ้น การกระจายรายได้เป็นเรื่องใหญ่ระดับโครงสร้าง ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างค่าตอบแทนการทำงาน โครงสร้างการศึกษา โครงสร้างต้นทุน และ ราคาสินค้า รวมถึงโครงสร้างสังคม ซึ่งเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันเป็นสายโซ่ เช่น มีการพูดกันถึงการจ่ายค่าจ้างตามผลงาน แต่เอาเข้าจริงยังยึดติดกับระดับการศึกษา เป็นผลให้ทุกคนต่างแสวงหาปริญญากันอย่างขะมักเขม้น โดยไม่สนใจว่าเป็นสาขาวิชาใด สถาบันการศึกษาก็ตอบสนองความต้องการนี้ด้วยการเปิดสอนระดับอุดมศึกษากันอย่างกว้างขวางจนเกิดความห่วงใยเกี่ยวกับคุณภาพตามมา รวมถึงปรากฏการณ์ “ที่เรียนมาไม่ค่อยได้ใช้ (ให้คุ้มค่า) ที่ต้องการใช้ไม่ค่อยมีคนเรียนคนสอน” (เกิดความสูญเปล่าทางการศึกษาเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปัญหา) สรุปว่าไม่ใช่แค่พูด แต่ต้องลงมือทำอย่างจริงจัง และ จริงใจ โดยทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายนายจ้าง นักวิชาการ ฯลฯ ตัวอย่างกรณีผู้ใช้แรงงาน กฎ กติกาต่างๆเพื่อคุ้มครอง และ ป้องกันการเอารัดเอาเปรียบผู้ใช้แรงงานมีไว้เพื่อปฏิบัติตาม ไม่ใช่มีไว้ให้หลีกเลี่ยง การใช้ระบบ Out sourcing อาจทำให้ผู้ประกอบการลดค่าใช้จ่าย และ ความยุ่งยากในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ลงได้ แต่ค่าตอบแทนที่แรงงานได้รับน้อยลงเพราะต้องแบ่งส่วนหนึ่งเป็นค่าบริหารจัดการของนายหน้า ความหวังที่จะลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพ จะเป็นไปได้อย่างไรถ้าคนทำงานได้รับค่าจ้างไม่พอยาไส้ จะเป็นไปได้อย่างไรถ้าคนทำงานอย่างไม่เป็นสุข จะคิดเอาแต่กำไรมากเข้าว่าโดยไม่คำนึงถึงความเป็นอยู่ของลูกจ้าง ก็จะมีเรื่องจุกจิกกวนใจให้แก้ไขไม่รู้จบสิ้น หาความสงบสุขไม่ได้ ที่สำคัญเหนืออื่นใดคือตัวประชาชนผู้บริโภคเองไม่ว่าจะยากดีมีจน ถ้าไม่รู้จักคำว่า “พอ” ก็หาความสุขไม่ได้ คนจนจำนวนไม่น้อยรู้จักกิน รู้จักใช้ รู้ว่าอนาคตไม่แน่นอนจึงไม่นำเงินอนาคต (เงินกู้) มาใช้ (โดยไม่จำเป็น) พวกเขามีความเป็นอยู่อย่าง ”สมถะ” ใช้ชีวิตอย่างสงบสุข ไม่เดือดร้อนอะไร ในทางตรงข้ามคนจำนวนมากใช้เงินเกินตัว หลายคนตกเป็น “ทาสเทคโนโลยี” มีอะไรออกใหม่เป็นอดใจไม่ได้ต้องซื้อหามาไว้ใช้ ทั้งๆที่ไม่จำเป็น แถมราคาแพง บางคนถูกค่อนแคะว่าเป็นพวก “รายได้ต่ำ แต่รสนิยมสูง” ใช้สินค้า Brand name ราคาแพง ทั้งๆที่รายได้น้อย ความไม่รู้จักพอนี้มิใช่เกิดขึ้น และ สร้างความทุกข์ร้อนให้เฉพาะกับคนจนเท่านั้น มหาเศรษฐีมีเงินถุงเงินถังบางคนที่หยุด “ความอยาก” ไม่ได้ รวยแล้วยังโกง ทำให้มีชีวิตอยู่อย่างทุกข์ร้อนทุรนทุราย ไร้ความสุข ทั้งยังทำให้คนอื่นเป็นทุกข์เป็นร้อนไปด้วย เขียนเสียยืดยาวก็เพื่อจะชี้ให้เห็นว่า จี ดี พี ที่ใช้อยู่ทุกวันนี้เป็นดัชนีชี้วัดความสุขของคนในชาติได้ เพียงแต่ดูแลการกระจายรายได้ให้ดี ให้ประชาชนส่วนใหญ่ได้มีโอกาสจับจ่ายใช้สอยโดยไม่ต้องกู้หนี้ยืมสิน (มากเกินไป) ส่งเสริมให้คนประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในศีลในธรรม แทนการส่งเสริมให้ฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือย หรือ หมกมุ่นอยู่กับอบายมุข ทำดังนี้ได้ จี ดี พี จะค่อยๆโตอย่างมีเหตุมีผล (ไม่น้อยเกินไปจนฝืดเคือง หรือ ไม่มากเกินไปจนเกิดฟองสบู่) และ คนในชาติเป็นสุขการพัฒนากระแสหลักได้ถูกตั้งคำถามถึงความยั่งยืน และ ความเป็นธรรม (Justice) ในการพัฒนา รวมทั้งตัวชี้วัดและความเจริญที่อยู่บนฐานคิดและรับใช้ของทุนนิยม การยึดถือผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Products) ว่าเป็นตัวบ่งชี้ถึงความรุ่งเรืองและเป็นยอดปรารถนาของการพัฒนา ได้ส่งผลกระทบถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่นับวันจะสร้างปัญหา รวมทั้งการพัฒนากระแสหลักได้ละเลย ความดี ความงาม รวมทั้งศีลธรรมจริยธรรมในสังคม แนวคิดการพัฒนากระแสรองจึงเกิดขึ้นและได้ตั้งคำถามกับทิศทางการพัฒนาในกระแสหลัก รวมทั้งได้สร้างทางเลือกในการพัฒนาอีกรูปแบบหนึ่ง ดังเช่น แนวคิดเรื่อง ความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness) ของประเทศภูฏาน (Bhutan) ซึ่ง สุลักษณ์ ศิวะลักษณ์ เคยกล่าวว่า หากจะพัฒนาประเทศแบบใช้พระพุทธศาสนาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาแล้วละก็ ภูฏานเป็นประเทศหนึ่งเดียวที่พอจะเป็นแม่แบบนำร่องในการพัฒนาแนวพุทธได้เป็นอย่างดี (ส.ศิวลักษณ์,2543) แม้จะเป็นพระพุทธศาสนามหายาน นิกายวัชรยานก็ตาม การพัฒนาแบบภูฏาน ก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่น่าจักศึกษาและทำความเข้าใจ วิเคราะห์ วิพากย์ และเสนอแนะบทเรียนดังกล่าวให้กับการพัฒนาคุณภาพประชากร ในบริบทสังคมไทยอีกด้วย โจทย์ที่บทความนี้ตั้งไว้ก็คือ
1. บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของภูฏานเป็นอย่างไร ?
2. สารัตถะแห่งกระบวนทัศน์ความสุขมวลรวมประชาชาติของภูฏานเป็นอย่างไร ?
3. กระบวนการเรียนรู้และการผลักดัน การพัฒนาความสุขมวลรวมประชาชาติ
4. บทสรุป สำเร็จ / ล้มเหลว ของกระบวนการเรียนรู้ ความสุขมวลรวมประชาชาติ และข้อเสนอแนะที่มีต่อนัยการพัฒนาคุณภาพประชากรของประเทศไทย

1. บริบทของทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏาน ตั้งอยู่แถบหิมาลัยลักษณะทางกายภาพจึงเป็นภูเขาสูงและ มีพื้นที่เป็นประเทศเล็กๆ ขนาด 38,394 ตารางกิโลเมตร ที่ยังคงความเป็นอารยธรรมโดยมีวัตถุความเจริญเข้ามาเกี่ยวคงน้อยมาก ปกครองด้วยระบอบกษัตริย์เป็นประมุข มีสภาองคมนตรีเป็นที่ปรึกษา และมีสภาแห่งชาติ (Tsongdu) เป็นผู้ออก กฏหมาย มีสมาชิก 106 คนมาจากการเลือกตั้ง อีก 55 คนมาจากการแต่งตั้งของพระราชาธิบดี ประชากร ประมาณ 752,7000 คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายาน (ข้อมูลเมื่อ ปี2004 อนึ่ง การจัดเก็บสำมะโนประชากรของภูฏานยังมีปัญหาอยู่) เนื่องจากชาวภูฎานเป็นพุทธศาสนิกชนที่ยังคงยึดถือในประเพณีและวัฒนธรรมและได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาในวิถีชีวิตอย่างเคร่งครัดอยู่ และยังไม่ได้ถูกรุกรานจากกระบวนการโลกาภิวัตน์มากนักอัตลักษณ์ของชาวภูฏาน จึงเป็นชาวพุทธแบบมหายานที่ยังคงยึดถือหลักทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวันอยู่อย่างมาก (ผู้สนใจพึงศึกษารายละเอียดในเวบไชต์ ดังต่อไปนี้ http://www.bhutan.gov.bt/government/aboutbhutan.php)มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของภูฏาน
การปกครองแบบดั้งเดิมในภูฏาน ยืนอยู่บนฐานวัฒนธรรมและความเชื่อของพระพุทธศาสนา (วัชรยาน) ซึ่งนำไปสู่ความสุขมวลรวมประชาชาติ พันธสัญญา (Social Contract) ปี 1675 ในเรื่องความเท่าเทียมกันของชาวพุทธได้ประกาศว่า ความสุขของการมีชีวิตอยู่ของมนุษย์ และ คำสอนของพระพุทธเจ้ามีความสอดคล้องและอิสระอย่างเท่าเทียมกัน ปี 1729 มาตรการทางกฏหมาย (Legal code) ของภูฏานได้เน้นย้ำว่า กฎหมายจะต้องส่งเสริมความสุขของมวลมนุษย์ในภูฏาน (www.bhutanstudies.org.bt) ซึ่งชาวภูฏานเองเชื่อว่า องค์ความรู้ในด้านวัฒนธรรมและการให้การศึกษาในสังคมดั้งเดิมนี้ จะสามารถสร้างวิถีการพัฒนา (Path of development) ซึ่งนำสู่การบ่มเพาะและสร้างการพัฒนามนุษย์และสังคมได้อย่างสมบูรณ์ เพราะการพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์ไม่ใช่การใส่มนุษย์ลงไปให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนา ดังนั้น กระบวนการในการสร้างความสุขจึงดำเนินการอยู่บนฐานความเชื่อทางพระพุทธศาสนาอย่างไรก็ตามในความเป็นจริง รูปแบบการพัฒนาในประเทศที่กำลังพัฒนาอื่นๆแล้ว มักจะไม่รวมเอาความสุขเข้าไปอยู่ในเป้าหมายการพัฒนา (Development end) แต่มักจะมองมิติทางด้านเศรษฐสังคม (Socio – Economic) เป็นด้านหลัก ซึ่งจะเห็นได้จาก วาทกรรมการพัฒนาในชุดต่างๆ เช่น ตัวชี้วัดการพัฒนามนุษย์ (Human development) การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable development) และ เป้าหมายการพัฒนายุคสหัสวรรษ (Millennium development goal) เป็นต้น


แต่การพัฒนาแบบ ความสุขมวลรวมประชาชาติ นั้นได้มุ่งไปยังประเด็นที่เห็นว่า ทิศทางการพัฒนาควรจะแตกต่างไปจากการพัฒนาแนวอื่นๆทั้งในด้านวิธีวิทยา และ ผลลัพธ์การพัฒนา (Methodologies and outcomes) โดยรัฐจักต้องกระจายและส่งเสริมความสุขให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐอย่างแท้จริง
ในขณะที่ประเทศต่างๆมุ่งสร้าง พัฒนา และวัดความสำเร็จด้วย ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) แต่ได้ละเลยเรื่อง ความสุข โดยเฉพาะในประเทศที่มั่งคั่งทั้งหลาย ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้วควรจะรวมเอาความมั่งคั่งและความสุขเข้าด้วยกัน ไม่ใช่การมองถึงความมั่งคั่งแล้วจะส่งผลถึงความสุขได้ฝ่ายเดียว
การสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติจึงเป็นการสร้างความสมดุลระหว่างความทันสมัยกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของประเทศ (Balance of tradition and modernization)
2.สารัตถะแห่งกระบวนทัศน์ความสุขมวลรวมประชาชาติของภูฏานเป็นอย่างไร ?
รากฐานความคิดเรื่อง GDP ที่ถือกำเนิดในนาม GDH - Gross National Happiness ของกษัตริย์จิเม ซิงเย วังชุง (Jigme Singye Wangchuck) ของภูฏาน พระองค์จบการศึกษาจากอังกฤษ ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1972
และประกาศว่า วัตถุประสงค์สูงสุดของรัฐบาลก็คือการส่งเสริมความสุขของประชาชน ความสุขมวลรวมประชาชาติสำคัญยิ่งกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ข้อพิสูจน์ทางวิชาการมาประเมินความสุขตามความหมาย แต่ภูฎานจะตั้งหลักการและคำถามทางจริยธรรมเกี่ยวกบความสุขขึ้นมา โดยให้เป็นข้อเสนอและระบบการให้คุณค่าซึ่งใช้ได้ทั่วไป ซึ่งความสุขอันเป็นเป้าหมายที่มนุษยชาติทั้งมวลมีร่วมกันโดยพื้นฐาน (เลียงโป จิกมี วาย ธินเลย์, อ้างใน เจษณี สุขจิรัตติกาล,2541)โดยแนวคิดเรื่องความสุขมวลรวมประชาชาตินี้ จะไม่เน้น GNP - Gross National Product แต่จะถือ GNH - Gross National Happiness เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ ซึ่งองค์ประกอบ 4 ประการของ GNH คือ (www.bhutanstudies.org)
1. การพัฒนาเศรษฐสังคม (Socio-economic) อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม
2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
3. อนุรักษณ์และส่งเสริมวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ที่ดีงามของชาวภูฏาน
4. ส่งเสริมธรรมาภิบาล (Good governance)
การพัฒนาด้วยการตั้งโจทย์และวางกรอบการพัฒนาโดยการนำเอาตัวแปรทั้ง 4 มาแปลงเป็นหน่วยเพื่อเป็นดัชนีใช้วัดความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศ พระราชาธิบดีแห่งภูฏานทรงเห็นว่า “ GNP หรือกระทั่ง GDP คือภาพลวงตา เนื่องจากมันไม่สามารถสะท้อนภาพความจริงที่ปรากฏ เพราะเนื้อในของมันเป็นการรวมเอาตัวเลขยอดซื้อและตัวเลขยอดขายผลิตภัณฑ์กับบริการทั้งหมด โดยไม่จำแนกธุรกรรมที่ทำให้ความอยู่ดีมีสุขของสังคมต้องเลวร้ายลงออกไปตรงกันข้าม กลับรวมเอาธุรกรรมที่ทำลายความอยู่ดีมีสุขของสังคมมาเติมให้ค่าความมั่งคั่งเพิ่มสูงขึ้นไปอีก แทนที่ GDP จะจำแนกความแตกต่างระหว่างต้นทุนที่ต้องจ่ายไป กับผลแทนที่ได้รับ หรือระหว่างกิจกรรมที่สร้างสรรค์กับส่วนที่เป็นการทำลาย GDP กลับตีความว่าทุก ๆ ธุรกรรมที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนได้ด้วยเงินทั้งหมด ถือเป็นการทำให้ชีวิตดีขึ้นนั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่าย ทรัพย์สินและหนี้สิน จะมีค่าเป็นบวกหมด ไม่มีการหักลบออก
GDP จึงมืดบอดกับการเสื่อมถอยของสภาพแวดล้อม และสูญสิ้นของทรัพยากรธรรมชาติ การแตกสลายของระดับครอบครัวและชุมชนสังคม” (พายัพ วนาสุวรรณ์,2548)
3. กระบวนการเรียนรู้และการผลักดันนโยบาย การพัฒนาความสุขมวลรวมประชาชาติ อย่างไร?
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของภูฏาน ได้กำหนดให้มีหัวข้อใหญ่ในการพัฒนาไว้ดังนี้ คือ
1.การพัฒนาที่ต้องพึ่งพาตนเองในระดับ ซ่องกัง (Dzong Khang)
พึ่งพาตนเองทั้งในระดับ ประเทศและระดับท้องถิ่น กล่าวคือ รูปแบบการปกครองของภูฏานได้แบ่งมณฑลแห่งการปกครองและยกให้ ซองกัง เป็นเหมือนหน่วยงานระดับจังหวัดและอำเภอ ในการรับผิดชอบดำเนินการในการรับผิดชอบการดำเนินการพัฒนา
2. การกระจายอำนาจการบริหารออกไปจากส่วนกลางทำให้ทุกอำเภอมี ซองกัง (Dzong Khang) โดยให้ศาสนาเป็นพื้นฐานในการปกครอง
3. ควบคุมการใช้จ่ายเงินตราและสรรพวัสดุของบ้านเมือง โดยถือความประหยัดเป็นเกณฑ์
4. มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรในการบริหารพัฒนาในประเทศเป็นหลัก ไม่มุ่งเน้นชักชวนต่างประเทศให้เข้ามาลงทุน
5. ให้ประชาราษฎรมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศในทุกระดับ โดยมีองค์กรเยาวชน องค์กรคณะสงฆ์ สภาตำบล แต่ละ ซองกัง เป็นศูนย์รวมของแต่ละเมืองรูปแบบของการกำหนดวิสัยทัศน์ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของภูฏาน ซึ่งเป็นเสมือนกลไกหลักที่นำไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) เพื่อให้เกิดผลสำเร็จที่แท้จริง ก็เป็นโจทย์ที่ต้องศึกษาและทำความเข้าใจถึงผลกระทบที่มีต่อการเรียนรู้ ในเรื่อง แนวคิดและนโยบายความสุขมวลรวมประชาชาติ.การให้ความหมายเรื่องความสุขของภูฏานพระราชาธิบดี จิกเม ซิงจิ วังชุก หลังขึ้นครองราชในปี 1872 พระองค์ทรงเห็นว่า ความสุขต่างหากที่เป็นเป้าหมายสูงสุด ส่วนวัตถุอื่นๆ นั้นเป็นเพียงอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เติมเต็มความปรารถนาของมวลมนุษยชาติเท่านั้น ดังนั้น กระบวนการในการพัฒนาความสุขมวลรวมประชาชาติจึงมีเหตุผลต่างๆดังต่อไปนี้สนับสนุน
1. ความสุขมวลรวมประชาชาติ หรือ GNH มุ่งตอบสนองความต้องการและความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ในเชิงองค์รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เนื่องจากกายและจิตไม่สามารถแยกกันได้
2.ความสุขมวลรวมประชาชาติ มุ่งแสวงหาความสุขภายในจิตที่สมบูรณ์พร้อมกับสภาพแวดล้อมในภายนอกด้วย ซึ่งทั้งต้องมีความกลมกลืนกัน
3. ความสุขมวลรวมประชาชาติ ตระหนักถึงความสุขที่สามารถเข้าถึงเป้าหมายทางสังคมที่แท้จริงได้ ทั้งปัจเจกและสังคม
4. การกำหนดนโยบายสาธารณะ บนฐานความสุขมวลรวมประชาชาติจะมีตัวชี้วัดที่ไม่ใช้เครื่องมือแบบเศรษฐศาสตร์มากำหนดพันธะทางนโยบายในภูฏาน การพัฒนาประชากรด้วย วิธีคิดชุด ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) นั้น ภูฏานเองก็เห็นว่า การพัฒนาด้วยวิธีคิดชุดนี้ได้ถูกกระทำให้เป็นที่รับรู้รับทราบอย่างกว้างขวางในภูฏานเอง และได้นิยามความสุขด้วยบริบทของภูฏานเอง และไม่จำเป็นที่จะต้องให้เหมือนกับประเทศสากลอื่นๆ และประเทศอื่นๆจะต้องเหมือนดังนั้น รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรมและการเคหะ แห่งภูฏานจึงได้เสนอแนวทางการวัดปริมาณความสุขของประชาชนด้วยวิธีสังเกตง่ายๆ คือ “มองหน้าประชาชานแล้ววัดที่รอยยิ้มของพวกเขาดู” (Look at the faces of the people and measure the breadth of their smile) ซึ่งจะดูดีกว่า การมองไปที่ กรอบนโยบายซึ่งอนุมานกันเอาว่าเป็นเงื่อนไขระดับมหภาค ของการวัดความสุข ฉะนั้น หลัก 4 ประการของ ความสุขมวลรวมประชาชาติจึงประกอบด้วยหลักการดังกล่าวไว้แล้วคือการพัฒนาเศรษฐสังคม (Socio-economic) อย่างยั่งยืนและเท่าเทียม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษณ์และส่งเสริมวัฒนธรรมที่ดีงาม ส่งเสริมธรรมาภิบาล (www.bhutanstudies.org/gnh/jigmi.thm.)ความสุขภาคเกษตรกรรมชาวภูฏานเองเป็นผู้ที่ดำรงตนในวิถีแห่งพระพุทธศาสนามหายาน เป็นผู้เคารพในธรรมชาติและการเกษตร ลดการเบียดเบียนและเข่นฆ่าชีวิตสัตว์อื่น ขณะที่การทำเกษตรกรรมจะมี เจ้าพนักงานที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่าง กระทรวงเกษตรและชาวไร่ชาวนา ทำหน้าที่ประสานงานการเกษตรรวมทั้งด้านการตลาดการนำปัญหาของเกษตรกร เข้าไปสู่กระทรวงเกษตรเพื่อแก้ไขปัญหา และนำเอานโยบายทางเกษตรมาเผยแพร่ต่อเกษตรกรรม กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวนี้จึงได้สร้างวิธีการเข้าถึงความสุขผ่านเจ้าที่ของรัฐและดูเหมือนว่ากระบวนการทางนโยบายดังกล่าวยังเป็นแบบ บนสู่ล่าง หรือ Top down policy กระนั้นก็ตาม แต่ก็มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรกับเจ้าหน้าที่กระทรวงเหล่านั้นด้วยขณะเดียวกัน กระบวนการสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติ ผ่านทางด้านเกษตรกรรมยังคงมีมิติที่น่าสนใจ เช่น เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ของภูฏานนับถือพระพุทธศาสนาและยังคงยึดมั่นในทางศาสนาอยู่อย่างมั่นคง ฉะนั้น ประชากรภูฏานจึง มีความเชื่อว่า ภูเขา แม่น้ำ ลำคลอง พื้นดิน ฯลฯ ล้วนมีเจ้าชีวิต (Spirit) ครอบครองและอาศัยอยู่ ดังนั้น หากทำลาย ภูเขา แม่น้ำ ลำคลอง ก็เป็นการทำลายชีวิต ของเจ้าชีวิตที่ประจำอยู่ในทรัพยากรเหล่านั้น (http://www.missoulanews.com/News/News.asp?no=2745 )การที่มีความเชื่อเช่นนี้ ส่งผลต่อการจัดการระบบนิเวศ ที่ดีได้ ความสุขของประชากรที่สะท้อนไปยัง มิติของการอนุรักษ์ธรรมชาติในข้อที่ 2 จึงตอบสนองความสุขมวลรวมประชาชาติทางด้านนี้ พร้อมกันนี้ เกษตรกรรมในภูฏาน ยังไม่นิยมใช้ยาฆ่าแมลง เพราะการฆ่าแมลงถือเป็นการขัดต่อหลักศาสนา โดยเฉพาะศีลที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต การตีความเรื่องความสุขมวลรวมจึงส่งผ่านการอยู่ร่วมกันระหว่างคนและสัตว์เล็กสัตว์น้อยบนฐานความเชื่อทางพระพุทธศาสนาประการหนึ่งความสุขที่ผ่านการจัดการด้านการท่องเที่ยวภูฏานได้สร้างความหมายของการมีความสุขมวลรวมประชาชาติ ผ่านการจัดการท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองประเด็นสำคัญของความสุขมวลรวม ด้วยวิธีการในการจำกัดนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาในประเทศโดยตั้งเพดานนักท่องเที่ยวเข้าประเทศไม่เกินปีละ 8,000 (แปดพันคน ณ พ.ศ.2548)) และต้องจ่ายเงินเพื่อค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวในภูฏาน 200 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อคน/ต่อวัน โดยมีไกด์นำเที่ยวที่จะอนุญาตให้นำนักท่องเที่ยวไปชมได้ และไม่ทำลายแหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งเรื่องการจัดการขยะ โดยมัคคุเทศก์ จะไม่ยอมให้นักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวได้เองตามอัธยาศัยการจำกัดนั่งท่องเที่ยว และจำกัดสถานที่ท่องเที่ยวในภูฏาน ก็คือ การมุ่งสร้างความสุขให้กับประชาชน เนื่องจากไม่ต้องการให้สภาพแวดล้อมของภูฏานต้องได้รับความเสียหายจากจำนวนนักท่องเที่ยวที่มากเกินไปนั่นเอง อันจะส่งผลต่อระบบนิเวศและอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชุมชนและสังคมของภูฏาน การให้คุณค่ากับชีวิตในเรื่องจิตวิญญาณผ่านนโยบายต่างๆ เช่นนี้ นับได้ว่า ภูฏานมองเห็นและให้ความสำคัญในเรื่องความมั่งคั่งทางด้านจิตใจ มากว่าความมั่งคั่งทางด้านวัตถุ การสร้างความสุขในการจัดการท่องเที่ยวเช่นนี้ ภูฏานนับเป็นต้นแบบในการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อย่างแท้จริงการสร้างความสุขผ่านกระบวนการศึกษาระบบการศึกษาในภูฏานนั้น รัฐจัดการศึกษาในระบบ (Formal education) ให้ฟรี ด้วยการเรียนถึง 11 ชั้นปี (11 grades) อย่างไรก็ตามอัตราผู้รู้หนังสือยังอยู่ในระดับที่ไม่สูงนัก ประมาณการ ที่ร้อยละ 54 (ข้อมูลเมื่อ 2003) กระบวนการจัดการศึกษานั้น แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ
1. การศึกษาในวัด (Monastic Education) ซึ่งเป็นการศึกษาที่มุ่งเน้นการสร้างอัตลักษณ์และยึดถือประเพณีวัฒนธรรมของภูฏานอย่างแท้จริงเอาไว้ เป็นการศึกษาที่มีมาดั้งเดิมก่อนจะถูกการศึกษาแบบที่สอง เข้ามาให้ความหมายของการศึกษาแบบ โรงเรียน
2. การศึกษาสมัยใหม่ (Modern education) เป็นการจัดการศึกษาแบบตะวันตกที่เข้ามาสร้างการศึกษาแบบโรงเรียนอย่างจริงจังให้เกิดขึ้น ซึ่งยึดถือเอา ระบบการศึกษาของยุโรป ผ่านทางด้านอินเดียซึ่งมีอิทธิพลต่อภูฏาน โดยผ่านการครอบงำทางวัฒนธรรมการศึกษาจากอังกฤษที่เป็นครองอาณานิคมอังกฤษอยู่ก่อนนี้
3. การศึกษาของชุมชน (Dzongha meduim education) เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นทางเลือกจากสองระบบแรก นั้น และเพื่อรองรับผู้ที่การศึกษาระบบทั้งสองสำหรับผู้ที่เข้าไม่ถึงระบบการศึกษาทั้งสองระบบแรกนั้น
อย่างไรก็ตาม เส้นแบ่งระบบการศึกษาดังกล่าว ก็ได้ซึมซับกันและกัน และไร้ขอบเขตลงเนื่องจากกระแสของโลกสมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาทผ่านการจัดการศึกษาในโรงเรียนอย่างจริงจังเริ่มขึ้นโดยนำปรัชญาการศึกษาสมัยใหม่เข้ามาเป็นการศึกษาเพื่อทุกคน (Education for all) ในระบบการศึกษารัฐได้พยายามที่จะให้การศึกษาในโรงเรียนที่มีหลักสูตรเพื่อสร้างความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง และมุ่งจะเน้นถึงประเพณีและอัตลักษณ์ของตนเอง นักเรียนจึงจำเป็นต้องใส่ชุดประจำชาติของตนเองและ ประชาชน ก็จำต้องสวมใส่ชุดประจำชาติ โดยผู้ชายเป็นชุดคลุมอย่างกิโมโนทาบทับคาดเอวเป็นโสร่งดึงท่อนกลางทบลงเป็นชายเสื้อ ชุดชาย เรียก “โก๊ะ” ชุดผู้หญิง เรียก “คีรา” (ส.ศิวรักษ์,2543)ความสุขประชาชาติที่ตีความผ่าน บุหรี่ภูฏาน อาจถือได้ว่าเป็นประเทศแรกในโลกที่มีนโยบายห้ามบุหรี่เด็ดขาด ถ้าคนจะสูบบุหรี่ต้องสูบในบ้าน และเสียภาษี 200เปอร์เซ็นต์ ภูฏานมุ่งมั่นเป็นประเทศปลอดบุหรี่ ภูฏาน เดินหน้าจริงจังในการห้ามจำหน่ายยาสูบทุกชนิด และห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะทุกแห่ง โดยยอมให้คนที่ยังอยากสูบไปสูบเฉพาะภายในเคหะสถานของตน หากสามารถที่จะหาบุหรี่ได้ บรรดาร้านค้า โรงแรม ร้านอาหาร และบาร์ จะได้รับอนุญาตให้จำหน่ายบุหรี่มาจนถึงวันที่ 17 ธันวาคม 2547 จากนั้นก็ต้องเลิกขาย วิสัยทัศน์ของกระทรวงสาธารณสุขของภูฏานมองว่า จุดมุ่งหมายหลักของกฎหมายข้อนี้คือ มุ่งคุ้มครองปกป้องสุขภาพของประชาชน และภูฏานได้ประกาศในสมัชชาผู้แทนสมาชิก องค์การอนามัยโลกแล้วว่า จะขอเป็นประเทศแรกในโลกที่ปลอดบุหรี่ และหวังว่าจะ มีประเทศอื่นๆ เดินตาม (www.thairat.co.th/news/smooking.htm)


กระบวนการดังกล่าว นับเป็นการสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติ ผ่านกลไกทางด้านกฎหมายโดยใช้วิธีการบังคับ การสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติดังกล่าวจึงมุ่งที่จะสร้างความสุขผ่านทางสุขภาพประชาชานเพื่อสร้างชุมชนสุขภาพ (Healthy city) ให้เกิด โดยอาศัยกลไกทางกฎหมายเป็นตัวผลักดันการลด ละ เลิก การสูบุหรี่ในที่สุด การสร้างความสุขผ่านกลไกกฎหมายนี้ หากมองตามหลักการทางเสรีนิยม ( New Liberalism) และทุนนิยม (Capitalism) แล้ว ก็จะถูกตั้งคำถามว่า รัฐได้จำกัดเสรีภาพส่วนบุคคล โดยอ้างความชอบธรรมในเรื่องความสุขมวลรวมประชาชาติ ขณะเดียวกัน ฝ่ายทุนนิยมก็ตั้งโจทย์ว่า ความสุขมวลรวมประชาชนได้ละเลยการใช้ทุนของปัจเจกในการจัดการอุปโภคบริโภค(บุหรี่)ของปัจเจกด้วยเช่นกัน
สื่อโทรทัศน์ ความสุข หรือ ความทุกข์มวลรวมประชาชาติปี 1998 รัฐบาลภูฏานได้ก่อตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ขึ้นและออกอากาศ ด้วยช่องรายการต่างๆของเคเบิลทีวีจากต่างประเทศ 5 ปีผ่านไป งานวิจัยหลายชิ้นได้ข้อสรุปที่ตรงกันว่า คดีอาชญากรรมได้เพิ่มมาขึ้นจากการที่ประชาชนได้รับชมสื่อนอกเหล่านั้น เนื่องจากเด็ก ๆ ส่วนมากกำลังมีพฤติกรรมลอกเลียนลักษณะการกระทำของบรรดานักมวยปล้ำ (Wrestling) นักเรียนเริ่มที่จะใช้ความรุนแรงมากขึ้นและมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออยู่ที่โรงเรียน นักเรียนที่โตกว่า พยายามเลียนแบบมวยปล้ำกระทำกับนักเรียนที่เล็กกว่าตน ซึ่งได้ก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากในโรงเรียน คนหนุ่มสาวได้ปรับตนให้สอดคล้องกับกระแสโลกภิวัฒน์มากขึ้นและรับรู้ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในโลก สิ่งที่เป็นอันตรายก็คือ ยิ่งเรียนรู้โลกมากเท่าใด ภูฏานก็จะยิ่งสูญเสียวัฒนธรรมของพวกตนมากขึ้นเท่านั้น การร่างกฎหมายควบคุมสื่อ แยกแยะข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีจึงได้ทำขึ้นมาเพื่อ
แก้ปัญหาดังกล่าว (http://www.budpage.com/bn175.shtml)กระบวนการเรียนรู้เรื่อง ความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness)กระบวนการเรียนรู้ มีความสำคัญต่อกระบวนการพัฒนาคุณภาพประชากรในทุกมิติ เพราะการเรียนรู้จำนำไปสู่กระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิด และวิธีปฏิบัติในระดับปัจเจก และระดับ ครอบครัว สังคม กลุ่ม ชุมชน ประเทศ และ สากล ฉะนั้น กระบวนการเรียนรู้จึงเป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งของกระบวนการพัฒนาทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ทั้งในระดับจุลภาคและระดับมหภาค เพื่อขับเคลี่อนสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลงงอกงามและจำเริญทางคุณภาพประชากร
ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ จึงไม่ใช่เรื่องที่ควรศึกษาเฉพาะครั้งหรือเฉพาะในยุคสมัยเท่านั้น แต่ควรเป็นการศึกษาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ตราบเท่าที่มีมนุษย์เกิดขึ้นในโลกหรือยังมีชีวิตอยู่ และอาจถือได้ว่า การเรียนรู้นั้น เป็นภาระกิจที่ยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของสังคมมนุษย์ เพราะความรู้ คือ ประตูสู่การสร้างความงดงามของชีวิต

แนวคิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อความสุข
“ การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระบบคิด การกระทำ และประสบการณ์ ซ฿งมีความเกี่ยวข้องกับความจำ ความเข้าใจ การรับรู้ การวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหา เป็นกระบวนการที่มีความต่อเนื่อง สามารถงอกเงยและเปลี่ยนแปลงได้ ผลลัพภ์ของการเรียนรู้ คือ ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องนั้นๆ และความรู้ที่มีความหมาย คือ ความรู้ที่สามารถนำไปใช้แก้ไขปัญหาและสร้างปัญญาให้กับตนเอง ดังนั้น หัวใจ ของการเรียนรู้ ก็คือ การคิดเป็น ทำเป็น เผชิญปัญหา และสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ” (สุพัตรา ชาติบัญชาชัย,2548)ขณะเดียวกัน การสร้างการเรียนรู้นั้น เป็นกระบวนการ เรียน โดยมี ความรู้ เป็นแกน เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น องค์ประกอบของ กระบวนการเรียนรู้ ในฐานะที่เป็นกระบวนการจึงประกอบด้วยการทำงานใน 3 ระบบ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต),2543) ดังนี้
1. เป็นระบบปัจจยาการของชีวิต 3 ด้าน ได้แก่ ความสัมพันธ์และเชื่อมโยง ของระบบชีวิต คือ ด้านพฤติกรรม (กาย) ด้านคุณธรรม จริยธรรม สมรรถภาพทางด้านจิตใจ (จิต) รวมทั้งด้านความสัมพันธ์กับสังคม ได้ด้วยความความสามารถในการขยับเขยื้อนพฤติกรรม ซึ่งต้องอาศัยความรู้ (ปัญญา) และระบบคิดที่ทำงานสัมพันธ์กันไปตลอด
2.เป็นระบบการสื่อสารสัมพันธ์กับโลกทางอินทรีย์ 6 กล่าวคือ ความสามารถที่พัฒนาจากกระบวนการเสพ สู่ กระบวนการศึกษาและเรียนรู้ ผ่านอินทรีย์ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่งอินทรีย์ของมนุษย์ ทำหน้าที่ รู้สึก และ เสพ นำไปสู่ การรู้ และการศึกษา หล่อหลอมเป็นประสบการณ์ เมื่อบุคคลตระหนักและพิจารณาใช้ อินทรีย์ 6 ก็จะเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่จะ นำสู่การเกิดปัญญา
3. เป็นระบบสัมพันธ์ของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก กระบวนการเรียนรู้ ต้องมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยภายนอก ได้ แก่ เสียง สื่อ สิ่งเร้าจากภายนอก เรียกว่า ปรโตโฆสะ และ ปัจจัยภายใน ได้แก่ โยนิโสมนสิการ คือ การรู้จักคิด รู้จักมอง รู้จักพิจารณา อย่างถูกวิธี
ดังนั้น กระบวนการเรียนรู้ที่บุคคล ใช้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพื่อการเรียนรู้อย่างแท้จริง คนก็จะเกิดการพัฒนาขึ้น การศึกษาก็เริ่มขึ้น เกิดการพัฒนาความต้องการใหม่ เมื่อรู้จักการเรียนรู้ก็จะเกิดความรู้ใหม่ เกิดการใฝ่รู้และตอบสนองความต้องการได้ก็จะเกิดความสุข
กล่าวคือ เกิดองค์ความรู้และเกิดความสุขจากการเรียนรู้ ถ้ากระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างถูกต้อง ความสุขก็จะตามมาในตัวของมันเอง
จะเห็นได้ว่า การพัฒนาคุณภาพประชากร จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ เป็นสำคัญที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง วิธีคิด การตีความ การให้คุณค่า การประยุกต์ความรู้และการนำไปสู่การพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาในแต่ละประเทศ ภายใต้บริบทที่ ต่างกัน
การนำพาประเทศไปสู่เป้าหมายหลักของการพัฒนา เพื่อสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติ ของประเทศภูฏาน ก็คือ การที่รัฐได้อาศัยแนวคิดเรื่องความสุข ซึ่งในบริทบ (Context) ของภูฏานแล้ว การตีความเรื่องความสุข อยู่บนฐานของความเชื่อทางพระพุทธศาสนา (แบบวัชรยาน)
นั่นคือ การมองถึงทางดับทุกข์ แก้ข้อผูกมัดของอัตตา ที่เห็นความสุขภายในเป็นเป้าหมายสูงสุด ดังนั้นเป้าหมายการพัฒนาความสุข หรือ การสร้างความสุขบนฐานคติที่เชื่อว่า
1. ความสุขภายในคือเป้าหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย์ วัตถุเป็นเพียงอุปกรณ์เติมเต็มความปรารถนาของมนุษย์
2. ประชากรที่มีความสุข ก็คือ ประชากรที่มีความเป็นอยู่ที่สมดุลทั้งกายและจิต นัยความหมายคุณภาพประชากรของภูฏานจึงตีความได้ว่า คุณภาพประชากรเกิดจากการมีความสุขเป็นพื้นฐาน
3. ประชากรมีความสุขภายในจิตที่สมบูรณ์โดยกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่สมบูรณ์
เนื่องจากว่า ค่านิยมโดยทั่วไปของสังคมชาวภูฏาน ตามที่ยึดถือปฏิบัติกันมาก็คือ จริยธรรมและศีลธรรมแบบชาวพุทธ (Rose, Leo .The politics of Bhutan,2001)
วิถีปฏิบัติและความเชื่อทางพระพุทธศาสนาจึงเป็นรากฐานค่านิยม (Values) ของชาวภูฏาน ที่ตีความผ่านการมองจากมุมของศาสนาเป็นหลัก ฉะนั้น เป้าหมายความสุขจึงครอบคลุมอยู่เหนือทุกรูปการของชีวิตรวมทั้งมิติทางเศรษฐกิจ จึงไม่ใช่ความต้องการทางวัตถุที่เพิ่มทวีขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการด้วยการบริโภค
หากแต่เป็น การทำให้มนุษย์มีคุณธรรมยิ่งขึ้น ปรัชญาทางศีลธรรมของพระพุทธศาสนาในภูฏานจึงมีอิทธิพลต่อวิธีคิดและการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนา นำไปสู่การให้คำนิยามของความสุข โดยเห็นว่า ความอยู่ดีมีสุขเกิดจากความกลมกลืนทางจิตวิญญาณและวัตถุ
ดังนั้น ความสุขมวลรวมประชาชาติ ของภูฏาน จึงเกิดขึ้นบนพื้นฐานของศาสนาพุทธ เป็นปัจจัยสำคัญที่นำให้เกิด วิธีคิดชุดนี้ ซึ่งแน่นอนว่า การให้ความหมายเรื่องความสุขดังกล่าว ย่อมจะได้รับการวิพากย์วิจารณ์จากเนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ทางตะวันตกที่มองว่าขาดเหตุผลและตัวชี้วัดที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม กระบวนการเรียนรู้ เรื่อง ความสุขมวลรวมประชาชาติ ได้ส่งผ่าน องค์กร (Agent) ทางสังคม ซึ่งประกอบด้วย สถาบันหลักทางสังคม อยู่หลาย สถาบันที่เห็นว่ามีความเกี่ยวข้องกับ กระบวนการเรียนรู้ในเรื่อง ความสุขมวลรวมประชาชาติ ของประเทศภูฏาน ในที่นี้จึงจะนำมาวิเคราะห์เพียง 5 สถาบัน เท่านั้น
1. สถาบันครอบครัว (Family) ซึ่งเป็นสถาบันทางสังคมที่มีขนาดเล็กที่สุดและมีความสำคัญมากที่สุดสถาบันหนึ่งในด้านการก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ แรกเริ่มของระบบสังคม และ ส่งผ่านความรู้และการเรียนรู้ในเบื้องต้นในครอบครัว ก่อให้เกิดประสบการณ์และการเรียนรู้พื้นฐานของชีวิต และยังเป็นสถาบันที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่มีบทบาทต่อการเรียนรู้ของปัจเจกและสังคมอย่างมาก
2. สถาบันการศึกษา (Schooling) เป็นสถาบันที่สร้างการเรียนรู้ให้กับบุคคลอย่างเป็นระบบ รวมทั้งได้รับการจัดเรียงลำดับความสำคัญของความรู้ที่จะจัดสรรให้กับบุคคลเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ตามลำดับขั้นตอน ด้วยช่วงวัยอายุและประสบการณ์ของผู้เรียนรู้
3.สถาบันศาสนา (Religion ) เป็นสถาบันที่สร้างการเรียนรู้ในเรื่องการให้คุณค่า ความดีงาม อุดมคติ คุณธรรมจริยธรรม รวมทั้ง กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องของจิตใจและความสุขที่ไม่อิงอยู่กับเรื่องวัตถุ
4.สถาบันการการเมืองการปกครอง (Politics) สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นสถาบันที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องของการยอมรับสิทธิเสรีภาพ การกำหนดบทบาทและหน้าที่ กฎหมายและข้อบังคับ ที่สังคมสร้างขึ้นเป็นกรอบปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน
5.สถาบันสื่อมวลชน (Mass media) ในโลกยุคปัจจุบัน สื่อสารมวลชนมีความสำคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญยิ่ง การเปลี่ยนแปลงคุณค่า การให้ความสำคัญ ประเพณีวัฒนธรรม ถูกส่งผ่านช่องทางของสื่อมวลชนและสร้างอิทธิพลต่อความคิดความเชื่อของบุคคลเป็นอย่างมากพันธกิจและเป้าหมายทางประชากรของแห่งราชอาณาจักรภูฏาน
การบริหารงานของราชอาณาจักรภูฏานมี 10 กระทรวง โดยมีวิสัยทัศน์และพันธกิจมุ่งเน้นในการพัฒนาประเทศภูฏานบนฐานความเชื่อเรื่องความสุขมวลรวมประชาชาติ
โดยร่วมกำหนดพันธกิจว่าจะต้องมุ่งทำงานเพื่อนำไปสู่เป้าหมายของความสุขมวลรวมประชาชาติที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง (The Royal Government of Bhutan has 10 ministries which work in bringing the goal of Gross National Happiness closer to reality.) (www.bhutan.go.bt)
ดังนั้น อาจจะกล่าวได้ว่า ด้วยความที่ภูฏานเอง ยังคงเป็นประเทศที่ความเป็นโลกาภิวัตน์เข้าไม่ถึงได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย และยังคงเป็นประเทศที่ยึดมั่นในคำสอนทางพระพุทธศาสนานิกายวัชรยานเป็นหลักในการดำเนินชีวิต ดังนั้น ความสุขทางกายและจิตจึงเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร เป้าหมายทางประชากรของ ประเทศภูฏานจึง หมายถึง การสร้างเสริมความสุขให้กับประชากรบนรากฐานทางอัตลักษณ์ของภูฏาน (Maximizing of Happiness based on Bhutan’s identities)
กระบวนการมุ่งสู่การสร้างความสุขมวลรวมประชาชาติจึงหมายถึง การสร้างสังคมแห่งความสุข หรือ GNH society ภูฏาน ได้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาจนถึงปัจจุบัน อยู่ในระหว่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 ซึ่งจะสิ้นสุดลงในปี 2550 แผนการพัฒนาของภูฏานก็ยืนอยู่บนฐานความเชื่อในด้านการพัฒนาความสุขมวลรวมประชาชาติเป็นหลัก.
ในตอนต่อไปจะได้วิเคราะห์ กระบวนการเรียนรู้เรื่องความสุขมวลรวมประชาชาติ การถอดบทเรียน ของการพัฒนาคุณภาพประชากร ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของวิถีโลก และกระแสแห่งโลกาภิวัตน์ที่เข้ามาพร้อมกับทุนนิยมเสรี ในปัจจุบัน ภูฏานจะเปลี่ยนแปลงและดำรงอัตลักษณ์ของตนอย่างไร ? โปรดติดตามอ่านต่อตอนจบ ในตอนต่อไป หรือเข้าไปอ่านได้ที่ http://www.src.ac.thมูลนิธิเศรษฐกิจใหม่ (เอ็นอีเอฟ) ใช้มาตรฐานความเป็นอยู่และผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเป็นตัววัดความสุขของประชาชน อีกทั้งยังวัดจากความพอใจในการมีชีวิต ความคาดหวังในชีวิต และปริมาณการใช้สภาพแวดล้อมในการดำเนินชีวิต หมายถึงปริมาณของที่ดินที่เหมาะสมสำหรับจำนวนประชากรและการบริโภคพลังงาน
นายนิค มาร์คส์ หัวหน้าศูนย์ความเป็นอยู่ของเอ็นอีเอฟ กล่าวว่า จากการสำรวจเป็นที่แน่ชัดว่าไม่มีประเทศใดเพียงประเทศเดียวที่มีดัชนีความสุขอยู่ครบทุกอย่าง แต่ดัชนีเป็นการแสดงให้เห็นถึงรูปแบบว่าจะใช้ชีวิตให้ยืนนานและมีความสุขได้อย่างไรภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอยู่ โดยสิ่งที่ท้าทายคือการเรียนรู้จากบทเรียนที่ผ่านมาแล้วนำไปปรับปรุงใช้ต่อไป
ส่วนประเทศที่มีความสุขมวลรวมมากที่สุดในโลก คือ สาธารณรัฐวานูอาตู ซึ่งเป็นประเทศหมู่เกาะทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกเจ้าค่ะการมีความสุขของจำนวนชาววานูอาตูไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าประเทศนี้มีประชากรเท่าไหร่ หากแต่เป็นเพราะประชาชนมีความพึงพอใจกับสิ่งเล็กน้อย ไม่ใช่สังคมที่ขับเคลื่อนโดยการบริโภค แต่อยู่กันเป็นชุมชนและครอบครัว มีความหวังดีต่อกัน เป็นสถานที่ที่ไม่ต้องกังวลอะไรมาก สิ่งเดียวที่กลัวกันคือพายุไซโคลนหรือแผ่นดินไหวและที่สำคัญ ผู้คนในวานูอาตูไม่เห่อตามกระแสบริโภคนิยม และมีความหวังดีต่อกัน นี่คือกุญแจแห่งความสุขของเขาล่ะกระมังเจ้าคะส่วนประเทศที่มีความสุขน้อยสุดก็คือ บรรดากลุ่มประเทศบริโภคนิยมทั้งหลายอ่ะเจ้าค่ะ อย่างเช่น บรรดากลุ่มประเทศอุตสาหกรรม หรือจี 8 ซึ่งกลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีดัชนีความสุขน้อยที่สุด ส่วนในแถบเอเซียประเทศสิงคโปร์อยู่อันดับที่ 131 กลายเป็นประเทศในเอเชียที่มีดัชนีความสุขน้อยที่สุด สำหรับประเทศไทยที่รักของเราถูกจัดอยู่อันดับที่ 32 เจ้าค่ะ
ความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness : GNH) เป็นแนวความคิดที่กล่าวถึง การวัดความสุขของประชาชาติ ซึ่งคำนึงถึงคุณค่าทางด้านจิตใจของประชาชนในชาติ มุ่งเน้นการวัดความสุขที่เกิดจากจิตใจ มิใช่ทางด้านวัตถุโดยประเทศชาติควรมองถึงคุณภาพชีวิตของประชากร ด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมประเพณีมากกว่าการบริโภคการจับจ่ายใช้สอยในประเทศเพียงอย่างเดียว เหตุผลคือการอธิบายถึงต้นทุนของ GDP ที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของ GDP นั้นมาจากการวัดมูลค่าผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ ซึ่งการผลิตสินค้าชนิดหนึ่ง ๆ นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งในมูลค่าผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ แต่การที่ GDP เพิ่มขึ้นนั้นไม่ได้หมายความว่าประเทศชาติจะพัฒนาขึ้นตาม ในทางกลับกันสินค้าที่เพิ่มขึ้นนั้นอาจนำมาซึ่งความเสียหาย และสูญค่าของประชาชาติก็ได้ อาทิ การผลิตสุราของมึนเมาเพิ่มขึ้นนั้น ต้นทุนของมันอาจนำมาสู่ การทำผิดกฎหมาย การฆาตกรรม การทำผิดศีลธรรมต่าง ๆ ก็เป็นได้ ซึ่ง GDP ไม่ได้สนใจในเรื่องนี้ GDP มุ่งที่จะวัดแต่การผลิตที่เพิ่มขึ้นของสินค้า ไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นของสินค้าที่มีต่อประเทศชาติ ดังนั้น GDP เพียงบอกได้แต่ว่าประเทศชาติมีการผลิตเท่าไร แนวโน้มเป็นอย่างไรแต่ไม่สามารถบอกได้ว่าประชาชนในประเทศอยู่ดีกินดี มีความสุขเสรีภาพตามมาตรฐานมากน้อยเพียงใด จึงได้เกิดแนวความคิดในการที่จะวัดความกินดีอยู่ดีในประเทศชาติขึ้นมาซึ่ง GNH ได้ถูกกล่าวถึงว่าจะเป็นดัชนีชี้วัดความสุขของประชาชาติ ดังที่กล่าวข้างต้น GDP อาจจะวัดความประสบความสำเร็จด้านเศรษฐกิจได้ หาก GNH จะวัดความประสบความสำเร็จด้านสังคม และจิตวิญญาณของประเทศได้เช่นกัน
Gross National Happiness เป็นการวัดการพัฒนาประเทศที่ไม่ได้เน้นตัวเลขทางเศรษฐกิจแต่เน้น “ความสุข” ของคนในประเทศ GNH ยึดหลักการพัฒนาที่แท้จริงเกิดจากการพัฒนาจิตใจโดยประชากรทุกคนมีโอกาสพบความสุขได้เท่าเทียมกัน โดยมีหลักการสำคัญ 4 ประการ
1 การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
2 การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณค่าทางวัฒนธรรม
3 การรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
4 การมีธรรมาภิบาล
ซึ่งหลักการทั้ง 4 นี้เป็นหลักการที่เชื่อว่าจะทำให้ประชากรในประเทศมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความรักมอบให้แก่กันและมอบให้ประเทศชาติ ซึ่งจะนำมาสู่สภาพแวดล้อมที่ดี สภาพจิตใจที่ดี สังคมที่ดีซึ่ง GDP ไม่สามารถบอกถึงคุณค่าและความสุขของประเทศชาติได้ มาถึงจุดนี้ไม่ได้บอกว่า GNH นั้นสำคัญกว่า GDP เลย เนื่องจากการใช้ GNH เป็นตัวชี้วัดของประเทศเพียงอย่างเดียวนั้น ซึ่งยึดถือแต่ความสุขของประชาชนในชาติ สิ่งแวดล้อม ขนมธรรมเนียมประเพณี อาจจะนำมาสู่ความล้าหลังของประเทศได้ เพราะว่า คำนึงถึงแต่ความสุขและสวัสดิภาพของประเทศ ซึ่งสิ่งเหล่านี้สวนทางกับความเจริญทางด้านวัตถุ อาทิหากเราให้ความสนใจกับ GNH เพียงอย่างเดียวเราจะมุ่งเน้นรักษาสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์เพื่อความสุขแต่ก็จะไม่ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ประเทศ การที่จะให้ประชากรในประเทศมีความสุขโดยการวัด GNH เพียงอย่างเดียวนั้นอาจจะทำให้ประเทศขาดความสมดุลในการพัฒนาประเทศ
จะเห็นว่าการใช้ดัชนี GDP หรือ GNH ตัวใดเพียงตัวหนึ่งนั้นเป็นเหมือนการมองคนละด้านเท่านั้นเอง ถ้า GDP สูงประเทศชาติอาจมั่งคั่งแต่ไม่ได้หมายความว่าประเทศชาติจะสุขสงบประชากรมีสวัสดิภาพถ้วนหน้า ในทางกลับกัน GNH สูงเพียงอย่างเดียวก็ไม่ได้บอกถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เพียงได้แต่บอกถึงสวัสดิภาพของประเทศดีเพียงใดเท่านั้น ดังนั้นแล้วการพัฒนาประเทศชาตินอกจากความเจริญทางด้านวัตถุแล้วนั้น ความเจริญทางด้านจิตใจ ด้านสวัสดิภาพของสังคมควรชี้วัดและพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน เพื่อนำมาสู่ความสมดุลของประเทศ เราอาจจะเติบโตช้าหน่อยในด้านเศรษฐกิจเพื่อรักษาจิตใจและสวัสดิภาพของสังคมแต่ไม่ใช่ว่าจะไม่เติบโต ปัจจุบันหากมองในแง่ที่ว่าโลกคือประเทศประเทศหนึ่งและแต่ละประเทศเปรียบเสมือนประชากรในโลก เมื่อการเจริญเติบโตทางด้านวัตถุมีสูงขึ้นซึ่งเป็นไปตามกาลเวลายากที่จะยับยั้งทำให้เกิดการแก่งแย่งกันของประชากร และความเจริญทางด้านจิตใจทำให้อยู่ร่วมกัน ดังนั้นความสมดุลระหว่างวัตถุและจิตใจจึงเป็นสิ่งที่ทำให้โลกอยู่อย่างสงบสุขพร้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งนั่นคือความหมายของการใช้ GDP และ GNH ร่วมกันนั่นเองบทวิเคราะห์เชิงจัดการ ดัชนีชี้วัดความสุข (GNH)by admin on สิงหาคม 21st, 2009หลายท่านอาจเคยสงสัยว่า GNH คืออะไร จะมาแทน GDP อย่างนั้นหรือ อันที่จริงคาดว่าการเคลื่อนไหวเรื่อง GNH นี้ไม่ใช่เพื่อการนำมาแทน GDP แต่เพื่อให้พวกเราตระหนักกันมากขึ้นในปัจจัย ที่นำไปสู่ความสุขอย่างยั่งยืนด้วย ไม่เพียงแต่ เน้นตัวเลขทางการเงินของประเทศ GDP (gross domestic product) หรือผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติ แต่เน้นเพิ่ม GNH (gross national happiness) หรือความสุขมวลรวมประชาชาติด้วย เราลองมาช่วยกันวิเคราะห์ โดยใช้หลักการบริหารองค์กรดูนะคะก่อนอื่นมาทบทวน GNH กันนิดหนึ่ง สำหรับคนที่อาจยังไม่คุ้นเคย แนวคิดเรื่อง GNH เป็นพระราโชบายของ กษัตริย์จิกเม ซิงเย วังชุก แห่งภูฏาน ที่รัฐบาลภูฏานได้นำมาเป็นนโยบายหลักในการบริหารประเทศ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก หรือพระราชบิดาของ เจ้าชายเคเซอร์ หรือเจ้าชายจิกมีที่ชาวไทยชื่นชอบ และได้แพร่ขยายไปในนานาชาติ กระตุกเตือน ชาวโลกว่า พอแล้วหรือที่เรามุ่งหากันแต่คุณค่าของ ตัวเลขทางการเงินของประเทศ แต่มิได้สมดุลชีวิตของคนทั้งประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับกระแสการพัฒนาอย่างยั่งยืน (sustainability development) GNH มี 4 หลักการใหญ่ (the four pillars) คือ1.การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (economic development)
2.ธรรมาภิบาล (good governance)
3.การอนุรักษ์วัฒนธรรม (cultural preservation)
4.การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (nature preservation)
ถึงจุดนี้เราลองมามองในแนวนักบริหารจัดการกันดูนะคะ GNH เปรียบเสมือนเป็นวิสัยทัศน์ (vision) ซึ่งเป็นการตั้งเป้าหมายชนิดหนึ่ง (goal setting) และ 4 หลักการใหญ่ทำหน้าที่เสมือนเป็นค่านิยมหลัก (core value) ขององค์กรที่ตั้งไว้เป็นหลักยึดให้กับองค์กรใหญ่ที่ เรียกว่าประเทศภูฏาน บุคคลใดองค์กรใดๆ ในองค์กรรวมนี้จะได้ใช้เป็นหลักยึดและหลอม รวมวิธีการทำงาน แนวคิด ความเชื่อไปในแนวนั้น ดูรวมๆ นี่ก็เป็นการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ที่เราคุ้นเคยนั่นเอง ตั้งวิสัยทัศน์และค่านิยมหลัก (vision and value)การตั้งเป้าหมาย (goal setting) นี้เป็น เรื่องสำคัญมาก เมื่อเราตั้งให้องค์กรเราผลิต ให้ได้กำไรสูงสุดอย่างเดียว คนในองค์กรก็พยายามทำให้ได้ตามนั้นด้วยวิธีการต่างๆ อาจจะมีทั้งที่มีคุณธรรมและไม่มีคุณธรรม แต่พอเรา ใส่หลักการธรรมาภิบาลเพิ่มเข้าไปในเป้าหมายชัดเจน ทำให้คนชะลอพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้อง ธรรมาภิบาลลงไปได้บ้าง อย่างน้อยก็ระวัง ไม่เอิกเกริกกันเกินไปนักการตั้งเป้าหมายจะได้ผลดีมีประสิทธิภาพประสิทธิผลจนเกิดการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน หรือ performance management ได้นั้น ควรประกอบไปด้วยอีก 2 ปัจจัย นั่นคือการประเมินผล (performance appraisal) และการให้รางวัล (reward systems) กล่าวโดยย่อคือ เมื่อเราตั้งเป้าที่ต้องการ เช่น อยากให้คนทำงานเป็นทีมกัน เราก็ต้องมีการประเมินผลในเรื่องการทำงานเป็นทีม (ที่เชื่อถือได้) ด้วย และจะได้ผลชัดเจนขึ้นไปอีกเมื่อคนที่ทำได้ตามเกณฑ์ หรือทำงานเป็นทีมได้รางวัลมากกว่าคนที่ไม่ทำงานเป็นทีม พฤติกรรมคนก็จะถูกชี้นำไปในการทำงานเป็นทีมที่เด่นชัด และเป็นรูปธรรมมากขึ้นพอเรามาดู GNH กัน นี่ก็เป็นการบอกสังคมว่าเป้าหมายใหม่มิใช่เพียงแต่ในรูปของตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) แต่ดูถึง “ความสุข” ของคนทั้งประเทศด้วย ซึ่งความสุขนี้บางทีก็มิได้เกิดมาจากตัวเงิน เช่น ความสุขจากความอบอุ่นในครอบครัว ความสุขที่อยู่ในสังคม ที่คนมีคุณธรรม ไม่ใช่มีแต่แก่งแย่งชิงดีกัน ซึ่ง GDP อาจไม่ได้ตอบโจทย์ทั้งหมด ของการอยู่เย็นเป็นสุขอย่างที่เราต้องการ เศรษฐกิจพอเพียง และความอยู่เย็นเป็นสุขเป็นเป้าหมายใหญ่สำหรับประเทศไทย ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบันฉบับที่ 10 นี้ โดยมี ตัวชี้วัด ในแต่ละระดับมากมายที่เน้นถึงความสุขในมุมมองต่างๆภาพซ้อนขึ้นมาเหมือนตอนที่ทางวงการบริหารจัดการของเรามีนวัตกรรมที่เรียกว่า balance score card (BSC) ซึ่งพูดถึงการตั้งเป้าหมาย ที่มากกว่าแค่ยอดขายหรือกำไรเช่นกัน มีวิจัย และหลักฐานทางการปฏิบัติจริงทั่วโลก ให้เห็นชัดว่าได้ผลมากกว่าแค่เน้นเพียงตัวชี้วัดทางการเงิน (financial indicators) GNH นี้น่าจะเรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรมของการผลักดันผลการปฏิบัติการของประเทศให้ได้ผลมากขึ้น ครอบคลุม มากขึ้น และสมดุลมากขึ้น สำหรับในประเทศไทย อาจใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติ ให้ไปสู่เป้าหมายความสุขยั่งยืนท่านผู้อ่านคิดอย่างไรกันคะGDP : Gross Domestic Product (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ)คือ มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายภายในประเทศ
GNP : Gross National Product (ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ)
คือ มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายภายในประเทศ + ผลกำไรของการลงทุนจากต่างประเทศดังนั้นGDH : Gross Domestic Happiness (ความสุขมวลรวมภายในประเทศ).
ก็คงไม่ผิดจากนี้เท่าไรนัก...

GNH คืออะไร ?
GNH คือ มาตรฐานคุณภาพชีวิต (Quality of Life) โดยการมองแบบองค์รวมซึ่งมีด้านของจิตใจด้วย
ในขณะที่มาตรฐานเก่าอย่าง GNP จะวัดจากรายได้ของสินค้าและบริการเป็นหลักแต่เพียงอย่างเดียว
สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระราชบิดาของเจ้าชายจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งภูฏาน
ทรงมีพระราชดำริถึงการนำเอามาตรฐานแบบ GNH มาใช้ในภูฏานแทนค่า GDP ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515
มาตรฐาน GNH ประกอบด้วย
1. เพิ่มการเจริญเติบโตและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (หลักการของ GNH ไม่ได้ตัด GDP ทิ้งนะครับ)
2. อนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น (ซึ่งเป็นคนละอย่างกับ OTOP ที่ใช้ทรัพยากรอย่างบ้าคลั่ง)
3. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ไม่ใช่ตั้งเป้าทำยอดนักท่องเที่ยว)
4. สร้างระบบธรรมาภิบาลที่ดี (เช่น ไม่ซุกหุ้นให้คนขับรถ ไม่หลบเลี่ยงภาษี ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน)

แต่ ยุคนั้นใครต่อใคร "WANT" จะเป็น "NICs" (Newly Industrialized Countries) จนตัวสั่น
ภาพสบู่ขึ้นฟองใหม่ๆ มันช่างสวยสดงดงาม จะมีสักกี่คนที่สนใจ GNH หรือเศรษฐกิจพอเพียง ?
บางประเทศ ขนาดฟองสบู่แตกดังโป๊ะ จากเสือกลายเป็นเอ๋ง ผ่านมาหลายปีแล้วยังบ้าเหมือนเดิม
เช่น การเปิด FTA อย่างไม่รอบคอบ เอื้อประโยชน์ให้เฉพาะกลุ่มทุน แต่ชาวบ้านเกษตรกรดับอนาถ
นโยบาย OTOP ที่ใช้โมเดลแบบเดียวกัน และบีบให้ลงมือทำทุกพื้นที่ โดยไม่มองดูความเหมาะสม
แถมใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างไม่บันยะบันยัง จนผมสงสัยว่าไปดูต้นแบบที่ญี่ปุ่นกันอีท่าไหนเนี่ย
การท่องเที่ยวบ้านเขา กับ การท่องเที่ยวบ้านเรา
ราชอาณาจักภูฏานมีประชากร 2 ล้านคน - อันดับที่ 128 ของโลก
มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 47,000 ตารางกิโลเมตร - อันดับที่ 139 ของโลก
ค่าความยากจน (ตามเกณฑ์มาตรฐานเก่า) - อันดับที่ 189 ของโลก
แต่ความสุขตามมาตรฐาน GNH ซึ่งวัดเป็นเงินตราไม่ได้นั้น ภูฏานอาจเป็นอันดับ 1 ของโลกก็ได้
ภูฏานไม่มีการผลิตและจำหน่ายบุหรี่/ยาสูบ ดังนั้น บ้านเขาจึงไม่ต้องพิมพ์รูปน่ากลัวๆ ข้างซองบุหรี่
และไม่มีวัฏจักรเช่น นำเงินภาษีรายได้สรรพสามิตจากการขายบุหรี่กลับไปรักษาคนที่เป็นมะเร็งปอดห้ามการใช้ถุงพลาสติกอย่างเด็ดขาด ไม่ต้องเสียเวลารณรงค์ให้ประชาชนใช้ถุงผ้าแบบบางประเทศแต่เทคโนโลยีที่จำเป็นตามยุคสมัยอย่างเช่น อินเตอร์เน็ต มือถือ และอื่นๆ ก็ไม่ได้ห้ามใช้แต่อย่างใดสังเกตได้ว่าภูฏานเข้มงวดเกณฑ์ GNH ข้อ 3 ในระดับที่สูงมาก เพราะ เขาเห็นตัวอย่างมาเยอะแล้วตัวอย่างบางประเทศ ปากบอกว่าสนับสนุนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แต่ ให้งบสนับสนุนหยิบมือเดียวแถมยังตั้งเป้าจำนวนนักท่องเที่ยว 20-30 ล้านคนต่อปี เข้ามารุมโทรมแหล่งท่องเที่ยวให้พังยับเยินอีกพอแหล่งท่องเที่ยวไหนถูกกระทำชำเราจนยับเยินแล้ว ก็มองหาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ มาหลอกขายอีกพอแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติแท้ๆ เริ่มหมดลง ก็หันไปสร้างธรรมชาติปลอมๆ ขึ้นมาหลอกขายอีกวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา อันไหนพอขายได้ ก็จัดแสดงแสงสีเสียงใหญ่โต ขึ้นมาหลอกขายอีกการหวังเพียงเงินตรา ได้ทำลาย / บิดเบือน ประเพณีที่เคยมีมาไปในทาง "แปลกๆ" มานักต่อนักแล้วภูฏานจึงมีนโยบายจำกัดนักท่องเที่ยว โดยออกวีซ่าให้ท่องเที่ยวระดับคุณภาพเพียงปีละ 6,000 รายเสียภาษีเข้าประเทศไม่ต่ำกว่า 20,000 ดอลลาร์ (200 ดอลลาร์ต่อวันและต้องอยู่อย่างน้อย 10 วัน)เงินรายได้จากภาษีการท่องเที่ยวอย่างเดียว (ถ้าไม่มีการเพิ่มโควต้า) สูงสุดที่ 120 ล้านดอลลาร์ต่อปีหรือประมาณ 4,500 ล้านบาท ยังไม่นับค่าใช้จ่ายส่วนตัวอีกประมาณวันละ 500 - 1,500 ดอลลาร์อาจเทียบไม่ได้กับบางประเทศที่ตั้งเป้ารายได้จากการท่องเที่ยวไว้ที่หลักแสนล้านบาท หรือมากกว่านั้นซึ่งไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่เขาจะต้องทำอย่างนั้น เพราะตัวอย่างของบ้านเราก็เห็นกันอยู่เป็นประจำขนาดสถานที่บางแห่ง ล้อมรั้วลวดหนามเพื่อป้องกันพืชคลุมดินเล็กๆ ที่มีอยู่น้อย ใกล้จะสูญพันธุ์ไอ้พวกเวรมันก็ยังแหกเข้าไปเหยียบโดยไม่สนใจห่าอะไรเลย เพียงเพราะต้องการที่ยืนถ่ายรูปเท่านั้นมอส / เฟิร์นต้นเล็กๆ ที่อยู่ใต้เท้าน่ะเหรอ จะไปสนทำไมวะ ว่าแล้วก็เหยียบๆ ย่ำๆ ถ่ายรูปจนหนำใจ

1 GHP คืออะไร

คือความสุขมวลรวมผลิตภัณฑ์ -- มุมมองที่แตกต่างกันของความสำเร็จประเทศส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของพวกเขา (GNP) เป็นมาตรการของพวกเขาประสบความสำเร็จ GNP คือยอดรวมของมูลค่าของสินค้าและบริการที่ขายอยู่ในกรอบเวลาที่แน่นอน ประเทศเล็ก ๆ ในเทือกเขาหิมาลัยภูฏานตัดสินใจที่จะวัดความสำเร็จของประเทศของพวกเขาไปตามเงื่อนไขเพิ่มเติมและจิตใจแบบองค์รวมมากกว่าเงื่อนไขทางเศรษฐกิจเช่นผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ในการดำเนินการนี้พวกเขาสร้าง ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) GNH เน้นวัฒนธรรม, วิญญาณ, สิ่งแวดล้อมและสุขภาพทางอารมณ์และความสุขของประเทศและเป็นผู้อยู่อาศัยคุณสามารถจินตนาการโลกที่ทุกรัฐบาลมุ่งเน้นความสุขของประชาชนด้วย'และความเป็นอยู่เช่นนี้หรือไม่ ว้าว! อะไรโลกมันจะแตกต่างกัน ในขณะที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลาเร็ว ๆ นี้ฉันคิดว่ามันเป็นสิ่งสำคัญที่เราแต่ละคิดเกี่ยวกับส่วนบุคคล GNH ของเรา เราสามารถกำหนดความสำเร็จของเรามากขึ้นแบบองค์รวมและไม่เพียง แต่มุ่งเน้นไปที่ความสำเร็จของวัสดุต่อไปนี้เป็นพื้นที่ที่อยู่ในความสุขมวลรวมส่วนบุคคลผลิตภัณฑ์ (GHP) ของฉัน : สังคมอารมณ์จิตวิญญาณทางกายภาพและทางการเงิน ฉันพยายามที่จะตรวจสอบให้แน่ใจว่าผมโฟกัสในแต่ละพื้นที่เหล่านี้และสร้างความสมดุลกลมกลืน ความสำเร็จในพื้นที่หนึ่งเพื่อจะยกเว้นในพื้นที่อื่น ๆ จะไม่ประสบความสำเร็จเป็นจริงสำหรับผม ผมอยากจะแน่ใจว่าฉันมีความหมายในชีวิตประจำวันของความสำเร็จและความสุข ฉันคิดว่ามันเป็นสิ่งสำคัญที่จะประเมินผลรายเดือนของ GHP ของเราเพื่อให้อยู่ในการติดตามและมีสุขภาพมากขึ้นความสุขและความสำเร็จดังนั้นวิธีการที่คุณจะกำหนดของคุณ GHP? สิ่งที่คุณจะต้องเปลี่ยนในชีวิตของคุณเพิ่มขึ้นโดยรวม GHP ของคุณหรือไม่


ความสุขมวลรวมสินค้า
ไมค์ ชี้ให้ฉันไป บทความในสายในการล้มเหลวของ GDP เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จของชาติตั้งแต่เวลาของอาดัมสมิธ , เราได้ใช้ความมั่งคั่งของประเทศที่เป็นพร็อกซี่สำหรับความเป็นอยู่ของประเทศ เราวัดว่าชีวิตจะเริ่มดีขึ้นโดยการตรวจสอบว่าหมายเลขดี (GDP, รายได้ส่วนบุคคลและอื่น ๆ ) กำลังจะขึ้นและตัวเลขที่ไม่ดี (การว่างงานและเงินเฟ้อ, และอื่น ๆ ) จะไปลง แต่กว่าครึ่งศตวรรษที่ผ่านมามีอะไรบางอย่างที่เกิดขึ้น US ของ GDP ต่อหัว -- ค่าของทุกสินค้าและบริการที่ประเทศผลิตหารด้วยจำนวนประชากรของมัน -- ได้เกือบสามเท่า แต่อเมริกันเป็นอยู่ที่ดียังไม่ได้ budged เราเติบโตขึ้นเกือบสามเท่ายิ่งขึ้น แต่ไม่ได้เป็นส่วนที่น้อยที่สุดมีความสุขมาก มีหลักฐานที่กว้างขวางในสังคม postindustrial ทั้งหมดวัสดุทรัพย์สมบัติและความสุขที่กว้างขึ้นจะไม่ตรงกันอย่างใกล้ชิดของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ

GNP GDP vs
See also : ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ # GDP vs GNP
Gross National Product (GNP) จะขัดมักจะมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในขณะที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติออกมาตรการที่สร้างโดยองค์กรของประเทศ -- ไม่ว่าจะตั้งอยู่ในประเทศหรือต่างประเทศทางร่างกาย -- GDP มาตรการออกทั้งหมดที่ผลิตภายในขอบเขตดินแดนของประเทศ -- ไม่ว่าจะผลิตโดย บริษัท ของตัวเองของประเทศนั้นหรือไม่
เมื่อเมืองหลวงของประเทศหรือทรัพยากรแรงงานมีงานนอกพรมแดนของตนหรือเมื่อ บริษัท ต่างชาติทำงานในดินแดนของตน, GDP และ GNP สามารถผลิตมาตรการที่แตกต่างกันของผลผลิตรวมทั้งหมด ในปี 2009 เช่น สหรัฐอเมริกา โดยประมาณของ GDP ที่ 14119000000000 $, และล้านล้านของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติที่ 14.265 $ [2] สหรัฐอเมริกา GNP ใช้เป็นมาตรการหลักของการกิจกรรมทางเศรษฐกิจรวมก่อนปี 1991 เมื่อเริ่มใช้ GDP [3] ในการสลับ, สำนักวิเคราะห์เศรษฐกิจ (BEA) กล่าวว่า GDP ทั้งสองให้การเปรียบเทียบได้ง่ายขึ้นของมาตรการอื่น ๆ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและว่า"ความจริงทั้งหมดในประเทศอื่น ๆ ได้นำ GDP อยู่แล้วเป็นมาตรการหลักของการผลิต."








2 องค์กรที่จัดทำ
GDP ย่อมาจากคำว่า Gross Domestic Product ซึ่งแปลเป็นไทยได้ว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ซึ่งคือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง ตามแต่ต้องการจะวัดเช่น ภายใน 1 ไตรมาส ครึ่งปี หรือ 1 ปี เป็นต้น โดยไม่แยกว่าจะทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการจะเป็นทรัพยากรของคนในประเทศหรือเป็นของชาวต่างชาติ แต่ดูแค่ว่าหากเกิดขึ้นภายในประเทศ ก็จะนับเป็นผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
ส่วน GNP ย่อมาจากคำว่า Gross National Product แปลเป็นไทยได้ว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ซึ่งก็คล้ายกับ GDP แต่จะต่างกันตรงที่นับมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายเฉพาะที่ใช้ทรัพยากรของคนในประเทศนั้น ๆ ในการผลิต โดยไม่สนใจว่าคนของประเทศนั้น ๆ จะอยู่ที่ใดในโลก เช่น คนไทยไปลงทุนผลิตสินค้าในต่างแดน แล้วสร้างรายได้ให้กับประเทศไทย ก็จะนับอยู่ใน GNP แต่จะไม่นับอยู่ใน GDP ส่วนชาวต่างชาติที่มาผลิตสินค้าหรือบริการในไทย เมื่อมีรายได้ ก็จะไม่นับอยู่ใน GNP แต่จะนับอยู่ใน GDP เป็นต้น
หลักการจำง่าย ๆ ที่ใช้จำเพื่อแยกแยะความแตกต่างของ GDP และ GNP ก็คือ ให้จำตัวย่อตัวกลาง คือ “Domestic” และ “National” ซึ่งหากพูดถึงคำว่า Domestic (ซึ่งแปลว่า ในประเทศ) ก็ให้คิดว่าเป็นมูลค่าของสินค้าและบริการเฉพาะที่อยู่ในประเทศ ไม่ต้องคิดว่าชาติใดเป็นผู้ผลิต แต่ถ้าพูดถึงคำว่า National ก็คือนับเฉพาะชาติของเรา ไม่ว่าจะไปผลิตอยู่ที่ใดในโลกก็ตาม ดังนั้น ความ สัมพันธ์ของ GDP กับ GNP อาจเขียนได้ดังนี้

GNP = GDP + ผลผลิตของปัจจัยการผลิตในประเทศสุทธิ

ปัจจุบัน ผู้รับผิดชอบในการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ GDP และ GNP คือ สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) โดยเผยแพร่ข้อมูลทั้งเป็นรายไตรมาสและรายปี โดยจัดทำทั้งตามราคาปัจจุบัน (Current Prices) และราคาคงที่ โดยแบบราคาคงที่นี้ จะทำโดยกำหนดให้ปีใดปีหนึ่งเป็นปีฐาน (Constant Prices) เพื่อขจัดผลของราคาออก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจะดูการเปลี่ยนแปลงของ GDP หรือ GNP เฉพาะด้านปริมาณ หรือการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริง โดยไม่ถูกลวงตาด้วยการเพิ่มขึ้นของราคา ซึ่ง GDP ที่พูดถึงกันในข่าวสารปัจจุบัน ส่วนใหญ่ก็คือ GDP ณ ราคาคงที่



3 หลักการ เกณฑ์ที่ใช้วัด GHP GDP

ในการจัดทำ GDP สามารถวัดมูลค่าของสินค้าและบริการได้ 3 ด้าน ซึ่งผลที่ได้จากการวัดมูลค่าในทั้ง 3 ทางนี้ต้องมีค่าเท่ากัน ได้แก่

1. ด้านผลผลิต (Production Approach) : วัดจากด้านการผลิตสินค้าและบริการของแต่ละสาขาการผลิต เช่น การผลิตในภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ เช่น สาขาภัตตาคารและโรงแรม อสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น โดยเป็นการวัดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตเท่านั้น หรือเลือกนับเฉพาะมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิต เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการนับซ้ำ ตัวอย่างที่ค่อนข้างใช้กันอยู่ทั่วไป คือ
กระบวนการผลิต มูลค่า (บาท) มูลค่าเพิ่ม
(1) ชาวนาขายข้าวให้โรงสี 10,000 10,000
(2) โรงสีขายข้าวที่สีให้โรงงานทำแป้ง 13,000 13,000-10,000 = 3,000
(3) โรงงานทำแป้งขายแป้งให้โรงงานทำขนมปัง 20,000 7,000
(4) โรงงานทำขนมปังผลิตขนมปัง 25,000 5,000
รวม 58,000 25,000

จากตัวอย่างในตาราง จะเห็นได้ว่า หากนับมูลค่าของสินค้าทุกขั้นตอนการผลิตจะได้ว่า GDP คือ 58,000 บาท แต่จะเห็นได้ว่า แต่ละขั้นตอน ผู้ผลิตจะมีต้นทุนในการผลิตเกิดขึ้นด้วย เพราะต้องซื้อสินค้าจากผู้ผลิตคนก่อนหน้ามาผลิต ดังนั้น สิ่งที่ผู้ผลิตแต่ละขั้นตอนการผลิตสามารถทำได้จริง ๆ ก็คือส่วนที่เป็นมูลค่าเพิ่มของสินค้าเท่านั้น ซึ่งเมื่อรวมเฉพาะมูลค่าเพิ่มที่แต่ละคนผลิตได้จริง ๆ จะคิดเป็น GDP ที่มีมูลค่าเพียง 25,000 บาท เป็นต้น
ดังนั้น ทางเลือกในการวัดมูลค่าของ GDP จึงอาจเลือกวัดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้ ซึ่งในตัวอย่างนี้คือ ข้อ (4) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 25,000 บาท เท่านั้น หรือเลือกนับเฉพาะส่วนของมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิต ซึ่งผลรวมเท่ากับ 25,000 บาทเช่นกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการนับซ้ำ ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะนับแบบมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย หรือแบบนับเฉพาะส่วนของมูลค่าเพิ่ม ก็จะได้ค่าที่เท่ากันเสมอ



2. ด้านรายจ่าย (Expenditure Approach): เป็นการวัด GDP โดยใช้วิธีการนับรายจ่ายของคนในระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ รายจ่ายเพื่อการบริโภคสินค้าและบริการทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน (Consumption) รายจ่ายเพื่อการลงทุนของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (Investment) รายได้จากการส่งออก และรายจ่ายจากการนำเข้า โดยเขียนเป็นสมการได้ดังนี้

GDP=C + I + G + X – M

ในที่นี้ C และ I คือการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชน (Private Consumption และ Private Investment) ตามลำดับ ส่วน G เป็นรายจ่ายของรัฐบาลที่รวมทั้งการบริโภคและการลงทุน (Government Expenditure) ขณะที่ X คือ การส่งออก (Exports) และ M คือ การนำเข้า (Imports) โดยที่ต้องลบการนำเข้า (M) ออก เพราะว่าหากนับการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการในส่วนของ C, I G และ X จะพบว่าการใช้จ่ายดังกล่าว ได้รวมเอาส่วนของสินค้าและบริการที่ไม่ได้ผลิตในประเทศเข้าไปด้วย ซึ่งคือการนำเข้า ซึ่งจะมีผลทำให้มูลค่าการใช้จ่ายสูงกว่ามูลค่าของสินค้าและบริการที่ผลิตได้ในประเทศจริงๆ

3. ด้านรายได้ (Income Approach): เป็นการวัด GDP จากผลตอบแทนหรือรายได้ของคนในระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ยและกำไร โดยวัดจากผลตอบแทนของแรงงาน ก็คือ ค่าจ้างแรงงาน เงินเดือนและเงินช่วยเหลืออื่นๆ ส่วนผลตอบแทนของที่ดิน คือ ค่าเช่า ผลตอบแทนของเงินทุนก็คือ ดอกเบี้ย และสุดท้ายคือผลตอบแทนของผู้ผลิตก็คือ กำไร

GDP เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้อย่างไร?
การเปลี่ยนแปลงใน GDP จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ต่อเมื่อองค์ประกอบในการวัด GDP ในแต่ละด้านเปลี่ยนแปลง เช่น GDP จะเพิ่มขึ้นได้จากการที่มีการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้การวัดมูลค่าของ GDP ด้านผลผลิตเพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้น ก็มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น GDP ด้านรายได้ก็เพิ่มขึ้นสอดคล้องกัน ซึ่งเมื่อคนมีรายได้เพิ่มขึ้น ก็บริโภคเพิ่มขึ้น GDP ด้านค่าใช้จ่ายก็สูงขึ้นสอดคล้องกันไปเช่นกัน
แต่หากการบริโภคของคนที่เพิ่มขึ้น ไม่ได้นำไปบริโภคสินค้าที่ผลิตในประเทศ แต่หันไปบริโภคสินค้าจากต่างประเทศ ซึ่งต้องนำเข้ามาแทน ในกรณีนี้ GDP จะไม่เปลี่ยนแปลง เพราะรายจ่ายการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ถูกหักลบด้วยการนำเข้า ซึ่งเป็นรายการที่หักออกในการวัด GDP ด้านรายจ่าย เป็นต้น หรือในกรณีที่รัฐบาลมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยการลงทุนเพิ่ม ในที่นี้ องค์ประกอบของ GDP ด้านรายจ่ายก็เพิ่มขึ้นผ่านตัว G ในสมการข้อ 2. ข้างต้น ก็ทำให้ GDP เพิ่มขึ้นได้ เป็นต้น


ทั้งนี้ การวัดมูลค่าผลผลิตของสินค้าและบริการ หรือ GDP นั้น มีข้อจำกัดอยู่ตรงที่จะไม่ได้รวมการซื้อขายที่ไม่มีการซื้อขายผ่านตลาด รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ผิดกฎหมาย เช่น การค้ายาเสพติด หรือการพนัน เป็นต้น นอกจากนี้ GDP อาจจะไม่ใช่ตัวที่จะใช้วัดความกินดีอยู่ดีของประชาชนได้อย่างชัดเจน เนื่องจากอาจมีการกระจุกตัวของรายได้อยู่กับคนบางกลุ่มในเศรษฐกิจ ดังนั้น แม้จะเห็นว่าตัวเลข GDP สูงขึ้น แต่หากการกระจายรายได้ของคนในประเทศไม่เท่าเทียมกัน ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะกินดีอยู่ดีขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน เป็นต้น

ข้อเสียของ GDP
ขณะที่เครื่องชี้เศรษฐกิจหัวหน้า, GDP มีข้อบกพร่องมากมายที่รู้จักกันนานนักเศรษฐศาสตร์ GDP มาตรการจำนวนเงินของการค้าในประเทศ แต่นับและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันบรรเทาทุกข์ (เช่นค่าใช้จ่ายในการรักษาความปลอดภัย, ตำรวจ, มลพิษทำความสะอาดและอื่น ๆ ) เป็นเรื่องที่เขียนในเชิงบวกเพื่อการพาณิชย์ [1] วัดทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเป็นอยู่ที่ดี จะหักค่าใช้จ่ายดังกล่าวและเพิ่มในตลาดที่ไม่ใช่ผลประโยชน์อื่น ๆ (เช่นงานอาสาสมัครงานในประเทศยังไม่ได้ชำระและบริการระบบนิเวศมีค่าประมาณไม่ได้) อยู่ในการคำนวณตัวบ่งชี้ความเป็นอยู่ ขณะที่การพัฒนาเศรษฐกิจในโลกวิธีการหรือเกินกว่าขีด จำกัด ของระบบนิเวศที่จะให้ทรัพยากรมนุษย์และการดูดซับน้ำทิ้ง, โทรไปถามดาวเคราะห์ความสามารถของจะยังคงสนับสนุนอารยธรรม (ต่อข้อโต้แย้งของ Jared Diamond , ของคนอื่น), คนจำนวนมากได้เรียกว่า เพื่อรับ"Beyond GDP"(เมื่อเร็ว ๆ นี้ชื่อของ [ เมื่อ? ] การประชุมสหภาพยุโรป) เพื่อที่จะวัดความก้าวหน้าไม่เป็นที่เพิ่มขึ้นเพียงในการทำธุรกรรมทางการค้าและไม่เป็นความเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจที่ดี แต่เป็นโดยทั่วไปเพิ่มขึ้น เป็นอยู่ที่ดีอย่างอยู่ในใจตัวเองเป็นคนแจ้ง GNH เป็นผู้สนับสนุนที่แข็งแกร่งต่อการเคลื่อนไหวเพื่อยกเลิกการวัดการทำธุรกรรมทางการค้าเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญและเพื่อแทนโดยตรงประเมินการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ทางด้านสังคมจิตใจความเป็นอยู่ของประชากร
ในขณะที่แบบการพัฒนาแบบเดิมความเครียดเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นวัตถุประสงค์สูงสุด, GNH แนวคิดของการจะขึ้นอยู่กับสถานที่ตั้งที่บางรูปแบบของการพัฒนาเศรษฐกิจคือ"ไม่ได้ผล"ของแนวความคิดที่เป็นขั้นสูงตั้งไข่โดยเขต เศรษฐกิจนิเวศ . ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาดังกล่าวมากขึ้นในการสูญเสียของบริการระบบนิเวศและในการจัดเก็บภาษีของ"disamenities เมือง"กว่าจะผลิตเป็นบวกเงินสมทบเพื่อเป็นอยู่ที่ดี (ความยากง่ายของหลักสูตรที่ได้สำหรับรูปแบบของการพัฒนาจะถูกนำกำไรส่วนตัวในขณะที่ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเรียกเก็บจะเกิดมาโดยทั่วไปและเผยแพร่ต่อสาธารณชน.)


ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ไม่มีความหมายเชิงปริมาณที่แน่นอนของ GNH, [2] แต่องค์ประกอบที่ช่วยในการ GNH อาจมีการวัดเชิงปริมาณ อัตราต่ำสุดของการตายของทารกตัวอย่างเช่นความสัมพันธ์เชิงบวกกับการแสดงวิสัยของความเป็นอยู่หรือความสุขภายในประเทศ (ซึ่งทำให้ความรู้สึกมันไม่ก้าวกระโดดขนาดใหญ่ที่จะสรุปว่าการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรทำให้เกิดความเศร้าโศก.) การปฏิบัติของวิทยาศาสตร์สังคมได้รับการกำกับการแสดงออกต่อการเปลี่ยนแปลงวิสัยของผู้คนจำนวนมากเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่มีความหมาย แต่อย่างไม่มีความแตกต่างที่สำคัญระหว่างคนถาม "มั่นใจว่าคุณจะอยู่ในระบบเศรษฐกิจ?" และ"คุณพอใจกับงานของคุณ?" GNH เช่น ตัวชี้วัดความคืบหน้าของแท้ หมายถึงของแนวคิดเชิงปริมาณของการวัด เป็นอยู่ที่ดี และ ความสุข . ทั้งสองมาตรการที่มีแรงจูงใจจากความต้องการความคิดส่วนตัวว่ามาตรการอย่างเป็นอยู่ที่ดีมีความเกี่ยวข้องมากขึ้นและมีความสำคัญวัตถุประสงค์มากกว่ามาตรการ การบริโภค . มันไม่ได้วัดได้โดยตรง แต่เพียงปัจจัยที่มีความเชื่อว่าจะนำไปสู่มัน ตาม Daniel Kahneman , Princeton University นักจิตวิทยา , ความสุขสามารถวัดได้โดยใช้ วิธีการก่อสร้างใหม่วัน ซึ่งประกอบด้วยใน recollecting ความทรงจำของวันทำการก่อนหน้านี้โดยการเขียนไดอารี่สั้นแนวคิด GNH ที่สองรุ่น, การรักษาความสุขเป็นตัวชี้วัดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมถูกนำเสนอในปี 2006 โดย Med Jones, ประธานของ International Institute of Management มาตรการตัวชี้วัดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยการติดตามการพัฒนาพื้นที่ 7 รวมทั้งสุขภาพและอารมณ์ของประเทศจิต [4] ค่า GNH มีการเสนอที่จะทำงานดัชนีของค่าเฉลี่ยรวมต่อหัวของมาตรการดังต่อไปนี้
1. เศรษฐกิจสุขภาพ : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจดังกล่าวเป็นหนี้ของผู้บริโภครายได้เฉลี่ยต่อผู้บริโภคและดัชนีราคาการกระจายรายได้
2. สุขภาพสิ่งแวดล้อม : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดสิ่งแวดล้อมเช่นมลพิษทางเสียงและการจราจร
3. สุขภาพกาย : ชี้แนะผ่านการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดสุขภาพกายเช่นการเจ็บป่วยที่รุนแรง
4. สุขภาพจิต : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดสุขภาพจิตเช่นการใช้งานของ antidepressants และการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผู้ป่วยจิตบำบัด
5. Workplace Wellness : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดแรงงานเช่น การเรียกร้องไม่มีงานทำ , เปลี่ยนงาน, การร้องเรียนการทำงานและการฟ้องคดี
6. สังคมสุขภาพ : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดทางสังคมเช่นการเลือกปฏิบัติความปลอดภัยและอัตราการหย่าร้าง, การร้องเรียนของความขัดแย้งในประเทศและคดีครอบครัวคดีสาธารณะอัตราการเกิดอาชญากรรม
7. การเมืองสุขภาพ : ชี้แนะผ่านทางสํารวจโดยตรงและการวัดทางสถิติของตัวชี้วัดทางการเมืองเช่นคุณภาพของประชาธิปไตยท้องถิ่นเสรีภาพและความขัดแย้งต่างประเทศ
สูงกว่า 7 ตัวชี้วัดได้รวมอยู่ในการสำรวจครั้งแรกทั่วโลก GNH Ed Diener, นักจิตวิทยาจาก มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์เออร์บานา - Champaign , ได้มีการพัฒนาขนาดเรียกว่าอัตนัย เป็นอยู่ที่ดี และแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความสุข คุณภาพชีวิต ที่ได้รับใช้ในการเปรียบเทียบประเทศกันเกี่ยวกับเรื่องนี้สร้าง . [6] การศึกษาครั้งนี้พบว่า"รายได้สูง, การแสวงหาผลประโยชน์, สิทธิมนุษยชนและความเสมอภาคทางสังคมมีความสัมพันธ์กันอย่างมากและมี SWB"(หน้า 851, นามธรรม)
อาดัม Kramer, นักจิตวิทยาจาก มหาวิทยาลัยโอเรกอน ได้พัฒนาแบบจำลองพฤติกรรมของ"ความสุขมวลรวมประชาชาติ"ขึ้นอยู่กับการใช้และลบคำเชิงบวกในการปรับปรุงสถานะของเครือข่ายทางสังคมที่เกิดใน GNH เชิงปริมาณตัวชี้วัด

4 Green GDP คืออะไร

Green GDP ต้นทุนธุรกิจกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
"กรีน จีดีพี" เป็นเรื่องที่ทั่วโลกเห็นสอดคล้องกันถึงความจำเป็นในการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจกับสิ่งแวดล้อม และต่างตื่นตัวในการลงทุนสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ เชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ จากผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่เกิดขึ้นทั่วโลก ขณะนี้โลกต้องการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และได้มีการกำหนดนิยามที่หลากหลายที่มุ่งเน้น การเติบโตทางเศรษฐกิจเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น Green GDP หมายถึงค่าจีดีพีหักลบมูลค่าความเสียหายของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม, Green Accounting หรือระบบบัญชีที่บันทึกความ เสียหายของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ส่งผลให้หลายประเทศทั่วโลกตื่นตัวในการลงทุนเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในส่วนของประเทศไทยได้กำหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 10 ที่มุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมียุทธศาสตร์พลังงานที่สอดคล้องกับหลัก ดังกล่าว อาทิ การรณรงค์ให้เกิดค่านิยมในการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน, ปรับปรุงกฎระเบียบให้มีการพึ่งพาพลังงานจากในประเทศมากขึ้น และพัฒนาก๊าซธรรมชาติและพลังงานทางเลือก
สำหรับ ปตท.เองมุ่งเน้นการดำเนินธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคม และดูแลสิ่งแวดล้อม อาทิ การส่งเสริมการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิงแทนน้ำมันเตาในการผลิตไฟฟ้า เพื่อลดมลภาวะ หรือการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานด้วยการติดตั้งระบบการผลิตไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม หรือโคเจเนอเรชั่น และยังเป็นผู้ค้าน้ำมัน รายแรกจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปไร้สารตะกั่ว นอกจากนี้ยังส่งเสริมการผลิตและจำหน่ายไบโอดีเซลและแก๊สโซฮอล์จนถึงระดับ E85
ในต่างประเทศนั้นมีการพูดถึง "กรีน จีดีพี" มานานแล้ว แต่ในเอเชียที่มีการพูดกันมากคือ ประเทศจีน เพราะมีส่วนในการสร้างจีดีพีให้กับโลกอยู่ 5-6% ขณะเดียวกันก็ใช้พลังงานถึง 15% ของโลก จึงมี ความกังวลทางด้านนี้เยอะ
ที่สำคัญในมุมมองของไอบีเอ็ม "กรีน จีดีพี" ไม่ได้มองถึง การประหยัดพลังงานอย่างเดียว แต่รวมถึงทรัพยากรน้ำ การปล่อยคาร์บอน เพราะจะเชื่อมโยงกันหมด
ปัจจุบันองค์กรต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับกรีนเพราะกฎหมายและข้อบังคับ และแนวโน้มแต่ละประเทศก็จะพูดถึงกฎหมายและ ข้อบังคับเยอะขึ้น และกรีนไม่ใช่การลดโลกร้อนอย่างเดียว แต่หมายถึงการลดค่าใช้จ่ายขององค์กรด้วย สุดท้ายก็คือการเรียกร้องจากลูกค้า เพราะจากการทำเซอร์เวย์ทั่วโลกพบว่าลูกค้าจะเลือกซื้อสินค้าจากบริษัทที่ให้ความสำคัญกับเรื่องกรีน จีดีพีากกว่า
สำหรับองค์กรที่จะมูฟไปทางกรีนนั้นจะต้องมูฟไป 3 ปัจจัย คือ 1.โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร อย่างที่ ปตท.ก็ได้ทำเอเนอร์จี้ คอมเพล็กซ์เป็นอาคารประหยัดพลังงาน 2.ในแง่กระบวนการปฏิบัติงานเพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างถาวร อย่างไอบีเอ็มมีพนักงาน 4 แสนคน พนักงาน 42% ทำงานที่บ้าน ทำให้ไอบีเอ็มไม่ต้องลงทุนสร้างอาคารสำนักงาน ประหยัดได้ ปีละ 100 ล้านดอลลาร์ และช่วยลดค่าใช้จ่าย และประหยัดพลังงานในการเดินทางไปได้ด้วย 97 พันล้านดอลลาร์ และ 3.จะต้องเป็นอีโค ซิสเต็มส์ จะทำเฉพาะหน่วยงานไม่ได้ ต้องทำทั้งระบบ
อย่างที่พูดกันว่า สูตรของกรีน จีดีพี เท่ากับ เรียลจีดีพี ลบด้วยต้นทุนทางด้านสิ่งแวดล้อม แต่ถ้ามีการบริหารจัดการที่ดี ทำให้เกิดเซฟวิ่งโปรดักทิวิตี้ ทำให้กรีน จีดีพีมีมูลค่ามากกว่าเรียลจีดีพี









บรรณานุกรม


1. ^ Daly, (E. 1996), Beyond การเจริญเติบโต Herman กด Beacon
2. ^ "การไหลของบัญชีเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา" (PDF) ของผู้ว่าราชการคณะ Federal Reserve System 17 กันยายน 2010 p. 9 http://www.federalreserve.gov/Releases/Z1/Current/annuals/a2005-2009.pdf .
3. ^ "BEA : อภิธานศัพท์"G"" . สำนักวิเคราะห์เศรษฐกิจ 5 กันยายน 2007 http://www.bea.gov/glossary/glossary.cfm?key_word=GNP&letter=G # GNP .
4. ^ "ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเป็นตัวชี้วัดการผลิตของสหรัฐฯ" (PDF) สิงหาคม 1991 http://www.bea.gov/scb/pdf/NATIONAL/NIPA/1991/0891od.pdf .
Read more: http://www.time.com/time/health/article/0,8599,1016266,00.html#ixzz1Asy2efxR
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=giveforall&month=07-05-2010&group=5&gblog=1
http://noomkally.multiply.com/journal/item/2
1. ^ สำนักออสเตรเลียของสถิติแหล่งที่มาของแนวคิดและวิธีการ, ชับ 4"แนวคิดเศรษฐกิจและบัญชีแห่งชาติ","การผลิต","ขอบเขตการผลิต" สืบค้น 2009 พฤศจิกายน
2. ^ . ตัวอย่างเช่น William Petty (1665), King Gregory (1688) และในฝรั่งเศส Boisguillebert และ Vauban บัญชีแห่งชาติของออสเตรเลีย :, และแหล่งที่มาของแนวคิดวิธีการ , 2000 บทที่ 1; หัวข้อ : ประวัติโดยย่อของบัญชีเศรษฐกิจ (เรียกพฤศจิกายน 2009)
3. ^ ความหมาย NFIA -- ย่อ Attic
4. ^ ออสเตรเลียสภาสหภาพแรงงาน APHEDA, Glosssary , เข้าถึงพฤศจิกายน 2009
5. ^ United States, ของ United States], 5 p; เรียกพฤศจิกายน 2009
6. ^ สหรัฐ, การเชื่อมโยง จะปรากฏเป็นความตายเป็นของปลายปี 2009
7. http://translate.google.co.th/translate?hl=th&sl=en&u=http://en.wikipedia.org/wiki/Measures_of_national_income_and_output&ei=4HcuTc-HNMHnrAe1kp25Cg&sa=X&oi=translate&ct=result&resnum=5&ved=0CDMQ7gEwBA&prev=/search%3Fq%3DGNP%26hl%3Dth%26prmd%3Divns
http://www.oknation.net/blog/payont/2010/06/20/entry-1

1. ^ Zencey, Eric (2009/08/10) "GDPRIP" . New York Times http://www.nytimes.com/2009/08/10/opinion/10zencey.html . สืบค้น 2010/05/04
2. ^ McDonald, Ross (2005). ทบทวนการพัฒนา Pathways ท้องถิ่นให้อยู่ดีมีสุขทั่วโลก เซนต์ฟรานซิสซาเวียร์มหาวิทยาลัย, Antigonish, Nova Scotia, Canada pp. 3 http://www.gpiatlantic.org/conference/papers/mcdonald.pdf .
3. ^ Templeton, Sarah - Kate (5 ธันวาคม 2004) มีความสุขทางเศรษฐกิจใหม่" . กรุงเทพฯ : Timesonline http://www.timesonline.co.uk/article/0, ,2087 - 1388623, 00.html . สืบค้น 2007/01/08
4. ^ http://www.iim-edu.org/grossnationalhappiness/
5. ^ http://www.iim-edu.org/polls/grossnationalhappinesssurvey.htm
6. ^ ข http://psycnet.apa.org/journals/psp/69/5/851/ อัตนัยในการพยากรณ์ความเป็นอยู่ของประเทศ
7. ^ http://doi.acm.org/10.1145/1753326.1753369 ไม่สร้างความรำคาญกับพฤติกรรมของรูปแบบ"ความสุขมวลรวมประชาชาติ"
8. ^ ข http://www.le.ac.uk/users/aw57/world/sample.html ฉายทั่วโลกของอัตนัยเป็นอยู่ที่ดี : ความท้าทายในเชิงบวกจิตวิทยา?
9. ^ "ผู้ลี้ภัยภูฏานประท้วงความหิว" . เว็บไซต์บีบีซี 2003/02/18 http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/south_asia/2774803.stm . สืบค้น 2006/07/08
10. ^ "ภูฏานวิจารณ์มากกว่าผู้ลี้ภัยชาวประเทศเนปาล" . เว็บไซต์บีบีซี 2000/04/24 http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/south_asia/723666.stm . สืบค้น 2006/07/08
11. ^ http://www.gallup.com/poll/103795/wellbeing-report-card-president-sarkozy.aspx
• Adler Braun, Alejandro :. ความสุขมวลรวมประชาชาติในภูฏานตัวอย่างชีวิตของทางเลือกแนวทางการโพรเกรส 24 กันยายน 2009 http://www.grossnationalhappiness.com/OtherArticles/GNHPaperbyAlejandro.pdf
• บรูกส์, อาร์เธอร์ (2008), ความสุขมวลรวมประชาชาติ, Basic Books, ISBN 0-465-00278-1
• , โรเบิร์ต - Ed Diener Biswas. และ -- Diener ความสุข Unlocking ลึกลับของความมั่งคั่งทางจิตวิทยา Oxford : Blackwell Publishing จำกัด , 2008 290 หน้า ISBN 978-1-4051-4661-6 .
• Zencey Eric,"GDP RIP,"Times New York, 9 สิงหาคม 2009 [1]
• Ezechieli Eric,"Beyond การพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาเพื่อความสุขมวลรวมประชาชาติในภูฏาน" http://suse-ice.stanford.edu/monographs/Ezechieli.pdf , Stanford University, 2003
• Kammann, R. "การวิเคราะห์และการวัดความสุขเป็นความรู้สึกของ Well - เป็น"ตัวชี้วัดการวิจัยสังคม, 15 (2) (1984 : สิงหาคม) หน้า 91-115
• Layard, Richard (2005), ความสุข : บทเรียนจากวิทยาศาสตร์ใหม่, Penguin Press, ISBN 0-14-303701-3
• Powdyel, TS"ความสุขมวลรวมประชาชาติ, Tribute,"ความสุขมวลรวมประชาชาติ, Kinga, Sonam, et al (EDS) (1999), ทิมพู : ศูนย์การศึกษาภูฏาน
• Priesner, Stefan (2004) Indigeneity และ Unversality ทางสังคมศาสตร์ : เอเชียตอบสนองภาคใต้, ตี SAGE, ISBN 0-7619-3215-1
• Thinley, L. (1998, October) ค่านิยมและการพัฒนา"ความสุขมวลรวมประชาชาติ."การพูดนำเสนอในที่ประชุมมิลเลนเนียมสำหรับเอเชียและแปซิฟิกโซล, สาธารณรัฐเกาหลี
สืบค้นจาก" http://en.wikipedia.org/wiki/Gross_national_happiness "
หมวดหมู่ : เศรษฐกิจของภูฏาน | จริยธรรมประยุกต์ | อุดมการณ์ทางเศรษฐกิจ | เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม | เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ | ตัวเลขดัชนี | บัญชีแห่งชาติ | ความสุข
หมวดหมู่ที่ซ่อน : บทความวิกิพีเดียจำเป็นต้องล้างข้อมูลจากพฤษภาคม 2010 | บทความทั้งหมดต้องล้างข้อมูลบน | หน้าทั้งหมดที่จำเป็นต้องมีการล้างข้อมูลบน | คลุมเครือหรือไม่ชัดเจนเวลา | บทความทั้งหมดที่มีงบ unsourced | บทความที่มีงบ unsourced จากพฤศจิกายน 2008


















8.